Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11266
Title: Association of anti-double-strander DNA antibodies and disease activity measuremenr in systemic lupus erythematosus
Other Titles: ความสัมพันธ์ระหว่างแอนตีดับเบิ้ลสะแตรนด์ดีเอ็นเอแอนติบอดี้และการวัดการกำเริบของโรคในผู้ป่วยโรคลูปุส
Authors: Revadee Dejthevaporn
Advisors: Manathip Osiri
Yingyos Avihingsanon
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Medicine
Advisor's Email: Manathip.O@Chula.ac.th
Yingyos.A@Chula.ac.th
Subjects: Systemic lupus erythematosus
DNA antibodies
Issue Date: 2005
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Objective: To demonstrate the association between anti-double stranded DNA antibodies (anti-dsDNA Ab) and disease activity in systemic lupus erythematosus (SLE). Methods: A 1-year study of the association between anti-dsDNA Ab titer and the Mexican Systemic Lupus Erythematosus Disease Activity Index (MEX-SLEDAI) in patients with SLE was performed. Results: One hundred and seventy-three patients with SLE were included in the study. Positive anti-dsDNA Ab (anti-dsDNA Ab ≥1:10) were detected in 92 patients (53.2%) and negative anti-dsDNA Ab (anti-dsDNA Ab < 1:10) were detected in 81 patients (46.8%). In positive Ab group, the mean age at inclusion was 32.4±10.3 years, with the mean disease duration of 5.3±5.7 years. In negative Ab group, the mean age at inclusion was 34.0±10.4 years, with the mean disease duration of 6.7±6.1years. Both positive and negative Ab groups were predominately female. Three patterns of disease activity index according to MEX-SLEDAI scoring system were observed: Nine patients (9.8%) in the positive Ab group and 28 patients (34.6%) in the negative Ab group had inactive disease. Twenty patients (21.7%) in the positive Ab group and 8 patients (9.9%) in the negative Ab group were classified as probably active disease. Sixty-three patients (68.5%) in the positive Ab group and 45 patients (55.6%) in the negative Ab group had clearly active disease (p<0.001). Positive anti-dsDNA Ab was associated with several organ involvements: hematological 75% (p=0.011), mucocutaneous 40.2% (p=0.019) and musculoskeletal involvement 12.0% (p=0.047). However, this Ab was not related to renal manifestation (55.4%) in our study (p=0.426). Conclusions: Positive anti-dsDNA Ab is mostly correlated with disease activity in SLE patients whereas negative titer cannot totally exclude disease flare. Positive titer is associated with hematological, mucocutaneous and musculoskeletal involvement but it is not correlated with renal manifestation.
Other Abstract: วัตถุประสงค์ เพื่อแสดงความสัมพันธ์ระหว่างแอนตีดับเบิ้ลสะแตรนด์ดีเอ็นเอแอนติบอดี้กับการวัดการกำเริบของโรคในผู้ป่วยโรคลูปุส วิธีการศึกษา การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแอนตีดับเบิ้ลสะแตรนด์ดีเอ็นเอแอนติบอดี้กับการวัดการกำเริบของโรคในผู้ป่วยโรคลูปุส โดยใช้ตัวชี้วัดการวัดการกำเริบของโรคที่ปรับปรุงไว้ใช้ในประเทศกำลังพัฒนาโดยผู้วิจัยจากประเทศเม็กซิโก ผลการศึกษา การศึกษานี้มีผู้ป่วยโรคลูปุสจำนวน 173 ราย ผู้ป่วยร้อยละ 53.2 (92 ราย) มีผลตรวจของแอนตีดับเบิ้ลสะแตรนด์ดีเอ็นเอแอนติบอดี้เป็นบวก (ค่า ≥1:10) และผู้ป่วยร้อยละ 46.8 (81 ราย) มีผลตรวจของแอนตีดับเบิ้ลสะแตรนด์ดีเอ็นเอแอนติบอดี้เป็นลบ (ค่า <1:10) กลุ่มผู้ป่วยที่มีผลตรวจของแอนตีดับเบิ้ลสะแตรนด์ดีเอ็นเอแอนติบอดี้เป็นบวกมีอายุเฉลี่ยในขณะทำการศึกษา 32.4±10.3 ปี ระยะเวลาของการป่วยเป็นโรค 5.3±5.7 ปี กลุ่มผู้ป่วยที่มีผลตรวจของแอนตีดับเบิ้ลสะแตรนด์ดีเอ็นเอแอนติบอดี้เป็นลบมีอายุเฉลี่ยในขณะทำการศึกษา 34.0±10.4 ปี ระยะเวลาของการป่วยเป็นโรค 6.7±6.1 ปี ผู้ป่วยทั้ง 2 กลุ่มประกอบด้วยผู้ป่วยเพศหญิงมากกว่าเพศชาย การวัดการกำเริบของโรคในผู้ป่วยโรคลูปุสโดยใช้ตัวชี้วัดในการวัดการกำเริบของโรคจากประเทศเม็กซิโกมี 3 รูปแบบ: กลุ่มผู้ป่วยที่ไม่มีการกำเริบของโรคประกอบด้วย ผู้ป่วยที่มีผลตรวจของแอนตีดับเบิ้ลสะแตรนด์ดีเอ็นเอแอนติบอดี้เป็นบวก ร้อยละ9.8 (9 ราย) ผู้ป่วยที่มีผลตรวจของแอนตีดับเบิ้ลสะแตรนด์ดีเอ็นเอแอนติบอดี้เป็นลบ ร้อยละ 34.6 (28 ราย) กลุ่มผู้ป่วยที่น่าจะมีการกำเริบของโรคประกอบด้วย ผู้ป่วยที่มีผลตรวจของแอนตีดับเบิ้ลสะแตรนด์ดีเอ็นเอแอนติบอดี้เป็นบวก ร้อยละ 21.7 (20 ราย) ผู้ป่วยที่มีผลตรวจของแอนตีดับเบิ้ลสะแตรนด์ดีเอ็นเอแอนติบอดี้เป็นลบ ร้อยละ9.9 (8 ราย) กลุ่มผู้ป่วยที่มีการกำเริบของโรคชัดเจนประกอบด้วย ผู้ป่วยที่มีผลตรวจของแอนตีดับเบิ้ลสะแตรนด์ดีเอ็นเอแอนติบอดี้เป็นบวกร้อยละ 68.5 (63 ราย) ผู้ป่วยที่มีผลตรวจของแอนตีดับเบิ้ลสะแตรนด์ดีเอ็นเอแอนติบอดี้เป็นลบ ร้อยละ55.6 (45 ราย) (p<0.001) ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีผลตรวจของแอนตีดับเบิ้ลสะแตรนด์ดีเอ็นเอแอนติบอดี้เป็นบวก มีความสัมพันธ์กับการกำเริบของโรคลูปุสที่อวัยวะอื่นๆดังนี้ ระบบโลหิต ร้อยละ 75 (p=0.011) ระบบผิวหนัง ร้อยละ 40.2 (p=0.019) ระบบกระดูกและข้อ ร้อยละ12.0 (p=0.047) อย่างไรก็ตาม ไม่พบความสัมพันธ์กับระบบไตในการศึกษานี้ (p=0.426) สรุป การตรวจของแอนตีดับเบิ้ลสะแตรนด์ดีเอ็นเอแอนติบอดี้ที่ให้ผลบวกมีความสัมพันธ์กับการวัดการกำเริบของโรคในผู้ป่วยโรคลูปุส แต่ผลตรวจที่เป็นลบสามารถพบในผู้ป่วยที่มีการกำเริบของโรคได้ ผลตรวจที่เป็นบวกมีความสัมพันธ์กับการกำเริบของโรคลูปุสที่ ระบบโลหิต ระบบผิวหนัง ระบบกระดูกและข้อแต่ไม่มีความสัมพันธ์กับระบบไต
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2005
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Medicine
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11266
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1649
ISBN: 9741419813
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2005.1649
Type: Thesis
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
revadee.pdf647.45 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.