Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12230
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมเชาว์ เนตรประเสริฐ-
dc.contributor.authorนวลจันทร์ เสมาขันธ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2010-03-16T02:00:14Z-
dc.date.available2010-03-16T02:00:14Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746360884-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12230-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาตัวอักษรสีที่มีขนาดต่างกันบนพื้นสีต่างกันบนจอที่ฉายด้วยเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ ที่มีลักษณะเหมาะสมต่อการจำของนักเรียนในระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาและระดับอุดมศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้มีจำนวนทั้งสิ้น 150 คน แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มทดลองได้แก่ กลุ่มที่ 1 คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนอนุบาลลพบุรี จำนวน 50 คน และกลุ่มที่ 2 คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสระบุรีวิทยาคม จำนวน 50 คน และกลุ่มที่ 3 คือ นิสิตชั้นปีที่ 2 คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 50 คน กลุ่มตัวอย่างแต่ละระดับแบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม กลุ่มละ10 คน ซึ่งทั้งหมดเป็นผู้ที่ผ่านการตรวจสอบสภาพสายตาปกติและการทดสอบตาบอดสีของอิชิฮารา (Ishihara’s Test) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ แผ่นโปร่งใสที่พิมพ์คำไร้ความหมาย ซึ่งมีขนาดตัวอักษรสีต่างกัน 3 ขนาดคือ 18, 20 และ 24 พอยท์ บนพื้นสีที่ต่างกัน 10 คู่สี ที่ผลิตจากโปรแกรม Page Maker 5 และพิมพ์ลงบนแผ่นดปร่งใสด้วยเครื่องพิมพ์ FARGO วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวน 2 ทาง(Two-way ANOVA) และการเปรียบเทียบความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีของตูกี (Tukey’s HSD) ที่ระดับความมีวินัยสำคัญ .05 ผลการวิจัยพบว่า 1. กลุ่มตัวอย่างระดับประถมศึกษา มีผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านแตกต่างกัน อย่างมีวินัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ระหว่างตัวอักษร ขนาด 20 กับ 24 พอยท์และ 18 กับ 24 พอยท์ และระหว่างคู่สีต่างกัน 10 คู่สีโดยนักเรียนที่อ่านตัวอักษรสีขาวบนพื้นสีน้ำเงินขนาด 24 พอยท์ได้คะแนนเฉลี่ยรวมสูงสุด 2. กลุ่มตัวอย่างระดับมัธยมศึกษา มีผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ระหว่างตัวอักษรขนาด 18 กับ24 พอยท์ และ 20 กับ 24 พอยท์ และระหว่างคู่สีต่างกัน 10 คู่สีโดยนักเรียนที่อ่านตัวอักษรสีขาวบนพื้นสีม่วง ขนาด 24 พอยท์ ได้คะแนนเฉลี่ยรวมสูงสุด 3. กลุ่มตัวอย่างระดับอุดมศึกษา มีผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านแตกต่างกัน 3 ขนาด ไม่แตกต่างกันทางสถิติที่ระดับ .05 แต่มีผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านระหว่างคู่สีที่ต่างกัน 10 คู่สี แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยนิสิตที่อ่านตัวอักษรสีดำบนพื้นสีเหลือง ได้คะแนนเฉลี่ยรวมสูงสุดen
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research was to study effect of appropriate legibility of letter sizes and colors on different background colors on projected screen by an overhead projector effect of upon memories of elementary level and undergraduate level students. Subjects were 150 students. They were (1) 50 Prathomsuksa Six students of Anubanlopburi School (2) 50 Matthayomsuksa Four students of Saraburiwittayakom School and (3) 50 second year undergraduate students of the Faculty of education, Chulalongkon University. They were randomly assigned into five experimental groups of 10 students. Eash subject was tested with Ishihara's color blind test. The instrument used in the study was three transparency sets. Each set composed of meaningless words letter sizes: 18,20 and 24 point printed on ten pairs of color background by FARGO printer. Than, they were tested for reading achievement. The collected data were analized by means of Two-Way ANOVA. The pairwise differences were test by Tukey’s HSD. Method. The finding were as follows: 1. There was significance difference at .05 level on reading achievement of subjects in elementary level between 20 and 24 point, 18 and 24 point and between ten letter colors. Subjects who read 24 point of white letter on dark blue background obtained the highest scores. 2. There was significance difference at .05 level on reading achievement of subjects in secondary level between 18 and 24 point, 20 and 24 point and between ten letter colors. Subject who read 24 point of white letters on purple background obtained the highest scores. 3. There was no significance at .05 level on reading achievement of different letter sizes of students in undergraduate level, but there was significance difference at .05 level on reading achievement of different pairs of colors combination. Subjects who read the black letters on yellow background obtained the highest scores.en
dc.format.extent792286 bytes-
dc.format.extent789718 bytes-
dc.format.extent1035685 bytes-
dc.format.extent771550 bytes-
dc.format.extent880214 bytes-
dc.format.extent836359 bytes-
dc.format.extent942031 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectตัวอักษรen
dc.subjectสีในการออกแบบen
dc.titleการศึกษาขนาดของตัวอักษรสีบนพื้นสีที่เหมาะสมบนจอฉายen
dc.title.alternativeA study of appropriate legibility of letter sizes and colors on different background colors on projected screenen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSomchaw.n@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Naunjunt_Sa_front.pdf773.72 kBAdobe PDFView/Open
Naunjunt_Sa_ch1.pdf771.21 kBAdobe PDFView/Open
Naunjunt_Sa_ch2.pdf1.01 MBAdobe PDFView/Open
Naunjunt_Sa_ch3.pdf753.47 kBAdobe PDFView/Open
Naunjunt_Sa_ch4.pdf859.58 kBAdobe PDFView/Open
Naunjunt_Sa_ch5.pdf816.76 kBAdobe PDFView/Open
Naunjunt_Sa_back.pdf919.95 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.