Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12410
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมชาย พัวจินดาเนตร | - |
dc.contributor.advisor | วันชัย ริจิรวนิช | - |
dc.contributor.author | สุพรรษา พลแก้ว | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2010-03-30T03:35:15Z | - |
dc.date.available | 2010-03-30T03:35:15Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.isbn | 9741434715 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12410 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 | en |
dc.description.abstract | ลดเวลานำในการผลิตของผลิตภัณฑ์กีฬาทางน้ำ โดยการเพิ่มประสิทธิภาพของสถานีงานและประสิทธิภาพของสายการผลิต จากการศึกษาพบว่า ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวมีเวลานำในการผลิตโดยเฉลี่ยเท่ากับ 28 วัน ในขณะที่เวลานำในการผลิตอุดมคติมีค่ากับ 6.7 วัน กล่าวคือเวลานำในการผลิตจริงสูงกว่าเวลานำในการผลิตอุดมคติประมาณ 3 เท่า ประสิทธิภาพและสถานีงานเฉลี่ยมีค่าเท่ากับ 41% ในการดำเนินงานวิจัยนี้ผู้วิจัยได้นำแนวคิดของระบบการผลิตแบบลีน มาเป็นเครื่องมือในการศึกษาแนวทางการลดเวลานำในการผลิต ขอบเขตของงานวิจัยนั้นได้ครอบคลุมเวลานำในการผลิตวินเซิร์ฟบอร์ด ตั้งแต่กระบวนการขัดโฟมจนถึงกระบวนการสำเร็จรูป เพิ่มประสิทธิภาพของสถานีงาน โดยกำจัดกิจกรรมงานย่อยที่ไม่เกิดมูลค่าในกระบวนการผลิต เพิ่มประสิทธิภาพของสายการผลิต ให้เกิดการไหลงานอย่างต่อเนื่อง ด้วยเทคนิคการจัดสมดุลการผลิต จัดกลุ่มงาน กำหนดจำนวนพนักงานที่ต้องใช้ กำหนดมาตรฐานปริมาณงานระหว่างกระบวนการ ออกแบบและสร้างสายการผลิตขนาดเล็กลักษณะผังแบบผลิตภัณฑ์ มีความยืดหยุ่นสามารถผลิตสินค้าได้หลากหลายรุ่น ประยุกต์ใช้ระบบการดึงงานระหว่างสถานีงานและการดึงวัตถุดิบ พัฒนาทักษะความสามารถพนักงานให้สามารถทำงานได้หลายอย่าง และปรับปรุงโครงสร้างองค์กรและหน้าที่ความรับผิดชอบของฝ่ายผลิต ให้ระบบการสื่อสารรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ผลการการดำเนินงานวิจัยพบว่า เวลานำในการผลิตเฉลี่ยลดลง 68% จาก 28 วันเหลือ 9 วัน ประสิทธิภาพการทำงานของสถานีเพิ่มขึ้น ประสิทธิภาพของสถานีงานและสายการผลิตเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจาก 41% เป็น 90% | en |
dc.description.abstractalternative | To reduce process lead time for water sports production by increasing station efficiency and line efficiency. The scope of process studying covers from EPS sanding process until finishing process. The study of current state, process lead time was 28 days which is longer than ideal process lead time by 3 times and the average of station and line efficency is equal to 41%. The principle of lean production concept has been applied to the continuous flow under product-orientation layout called a cellular line. The improvement processes include mixed products, applying pull production concept between each workgroup, training workers to be multi skills labor and developing flat organization chart. The conceptual has been tested by implementing to a sample cellular line. From the study, it is found that average process lead time has been reduced by 68 % from 28 days to 9 days. Addiitionally, the average of station and line efficiency increased from 41% to 90%. | en |
dc.format.extent | 2388014 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การผลิตแบบลีน | en |
dc.subject | การควบคุมกระบวนการผลิต | en |
dc.subject | การจัดสมดุลสายการผลิต | en |
dc.subject | กระดานโต้คลื่น | en |
dc.title | การลดเวลานำในการผลิต : กรณีศึกษาของผลิตภัณฑ์กีฬาทางน้ำ | en |
dc.title.alternative | Process lead time reduction : case study of water sports product | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมอุตสาหการ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | fiespj@eng.chula.ac.th, Somchai.Pua@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Vanchai.R@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Supansa.pdf | 2.33 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.