Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14295
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปราโมทย์ โศจิศุภร | - |
dc.contributor.author | ชาลี ครองศักดิ์ศิริ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2010-12-27T04:12:34Z | - |
dc.date.available | 2010-12-27T04:12:34Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14295 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 | en |
dc.description.abstract | คลื่นเดี่ยวใต้น้ำเป็นคลื่นไม่เชิงเส้นซึ่งจะเกิดขึ้นเมื่อมีการรบกวนบริเวณรอยต่อของชั้นน้ำที่มีความแตกต่างของความหนาแน่นน้ำตามแนวดิ่ง การรบกวนเกิดขึ้นเมื่อกระแสน้ำเนื่องจากน้ำขึ้นน้ำลงไหลผ่านสิ่งกีดขวางใต้น้ำ เช่น แนวโขดหินใต้น้ำ ภูเขาใต้น้ำ หรือ ไหล่ทวีป คลื่นชนิดนี้มีความสำคัญในการเป็นกลไกในการถ่ายทอดโมเมนตัมและพลังงานในมหาสมุทร และยังอาจก่อให้เกิดการฟุ้งกระจายของตะกอนพื้นท้องน้ำบริเวณทะเลชายฝั่งอีกด้วย จากการตรวจวัดโดยการวัดโดยตรงในภาคสนามและเทคนิคการรับรู้จากระยะไกลที่ผ่านมาพบคลื่นเดี่ยวใต้น้ำที่มีแอมปลิจูดสูงและระยะเวลาสั้นปรากฏขึ้นในทะเลอันดามัน ได้ทำการตรวจวัดคลื่นเดี่ยวใต้น้ำที่เคลื่อนที่สู่ชายฝั่งตะวันตกของหมู่เกาะสิมิลันระหว่างฤดูลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือในปี พ.ศ. 2550 และ 2551 โดยใช้เครื่องบันทึกอุณหภูมิและเครื่องวัดกระแสน้ำ ผลการตรวจวัดพบคลื่นเดี่ยวใต้น้ำชนิดกดลงมีแอมปลิจูดไม่เกิน 70 เมตรและความเร็วกระแสน้ำในแนวราบไม่เกิน 1.33 เมตรต่อวินาที ทิศทางของความเร็วกระแสน้ำเนื่องจากคลื่นเดี่ยวใต้น้ำในแนวราบแสดงให้เห็นว่าคลื่นส่วนใหญ่ที่ปรากฏขึ้นในบริเวณนี้อาจเกิดมาจากภูเขาใต้น้ำใกล้บริเวณ 8 50 เหนือ ลองติจูด 94 56 ในทะเลอันดามัน และโอกาสการปรากฏขึ้นของคลื่นเดี่ยวใต้น้ำเพิ่มขึ้นตามพิสัยของน้ำขึ้นน้ำลง นอกจากนี้ยังตรวจพบการเปลี่ยนแปลงความเข้มของเสียงสะท้อนซึ่งทำให้คาดการณ์ว่าคลื่นเดี่ยวใต้น้ำก่อให้เกิดการฟุ้งกระจายของตะกอนที่พื้นท้องทะเล | en |
dc.description.abstractalternative | Internal solitary wave, a non-linear wave, is generated when the interface between layers due to density stratification disturbed. The layer disturbance is caused by tidal current passing over shallow underwater obstacles such as a sill, seamount or shelf break. Internal solitary wave is a significant mechanism for the transport of momentum and energy within the ocean, and may cause the resuspension of bottom sediments in the coastal sea. In previous studies, internal solitary waves with large amplitude and short duration have been observed in the Andaman Sea by direct field measurement or remote sensing techniques. Observations of internal solitary waves propagating onto the western coasts of Similan islands were carried out during the northeast monsoon season of the year 2007 and 2008 by using temperature recorders and Acoustic Doppler Current Profilers (ADCP). Internal solitary waves of depression type with amplitudes and horizontal velocities up to 70 m and 1.33 ms-1, respectively, were discovered. Direction of such currents suggested that most of the waves were generated from the sills near 8 50N 9456E in the Andaman Sea. The probability of their occurrence increased with tidal range. The analyses of echo intensity variability also suggest that internal solitary wave was the cause of resuspension of bottom sediments. | en |
dc.format.extent | 1175317 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.418 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | หมู่เกาะสิมิลัน | en |
dc.subject | คลื่นน้ำ | en |
dc.title | คลื่นเดี่ยวใต้น้ำบริเวณชายฝั่งตะวันตกของหมู่เกาะสิมิลัน | en |
dc.title.alternative | Internal solitary wave in the western coasts of Similan islands | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์ทางทะเล | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Pramot.S@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2008.418 | - |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Charlie_kr.pdf | 1.15 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.