Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16044
Title: ผลของความลาดชันความเร็วและอัตราภาระบรรทุกสารอินทรีย์ต่อการบำบัดน้ำเสียยางข้นโดยใช้ระบบเอเอสบีอาร์
Other Titles: Effect of velocity gradient and organic loading rate on treatment of concentrated latex wastewater by ASBR system
Authors: ณัฐกานต์ กาญจนวัฒน์
Advisors: ชวลิต รัตนธรรมสกุล
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Advisor's Email: fencrt@kankrow.eng.chula.ac.th
Subjects: น้ำเสีย -- การบำบัด
น้ำเสีย -- การบำบัด -- วิธีแบบไร้ออกซิเจน
น้ำยาง
Issue Date: 2552
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ศึกษาผลของความลาดชันความเร็วและอัตราภาระบรรทุกสารอินทรีย์ต่อการบำบัดน้ำเสียยางข้น โดยใช้ระบบเอเอสบีอาร์ โดยศึกษาจำนวนรอบเวลาเดินระบบ เป็นจำนวน 1-4 รอบ แต่ละรอบเวลาเดินระบบเท่ากับ 1, 3, 5, และ 7 วัน ความลาดชันความเร็ว 60 ต่อวินาที และอัตราภาระบรรทุกสารอินทรีย์ 3 กิโลกรัมซีโอดี/ลูกบาศก์เมตร/วัน พบว่าระบบมีประสิทธิภาพในการกำจัดซีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 77.91, 80.59, 82.97 และ 85.22 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ จากนั้นศึกษาการเปลี่ยนความลาดชันความเร็วของระบบที่ 40, 60, 80 และ 100 ต่อวินาที ตามลำดับ และลดอัตราภาระบรรทุกสารอินทรีย์เป็น 3, 2, 1 และ 0.5 กิโลกรัมซีโอดี/ลูกบาศก์เมตร/วัน พบว่าที่อัตราภาระบรรทุกสารอินทรีย์ 3 กิโลกรัมซีโอดี/ลูกบาศก์เมตร/วัน ระบบมีประสิทธิภาพในการกำจัดซีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 77.05, 85.22, 80.97 และ 79.19 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ประสิทธิภาพในการกำจัดซัลเฟตเฉลี่ยเท่ากับ 55.35, 67.66, 63.79 และ 58.85 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ และประสิทธิภาพในการกำจัดของแข็งแขวนลอยเฉลี่ยเท่ากับ 80.36, 96.00, 92.72 และ 86.72 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ที่อัตราภาระบรรทุกสารอินทรีย์ 2 กิโลกรัม ซีโอดี/ลูกบาศก์เมตร/วัน ระบบมีประสิทธิภาพในการกำจัดซีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 79.57, 87.28, 82.72 และ 80.97 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ประสิทธิภาพในการกำจัดซัลเฟตเฉลี่ยเท่ากับ 60.50, 68.44, 66.35 และ 63.05 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ และประสิทธิภาพในการกำจัดของแข็งแขวนลอยเฉลี่ยเท่ากับ 82.47, 96.62, 93.30 และ 88.10 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ที่อัตราภาระบรรทุกสารอินทรีย์ 1 กิโลกรัมซีโอดี/ลูกบาศก์เมตร/วัน ระบบมีประสิทธิภาพในการกำจัดซีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 80.95, 89.63, 85.54 และ 85.28 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ประสิทธิภาพในการกำจัดซัลเฟตเฉลี่ยเท่ากับ 69.98, 73.98, 73.63 และ 70.98 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ และประสิทธิภาพในการกำจัดของแข็งแขวนลอยเฉลี่ยเท่ากับ 86.14, 94.21, 92.73 และ 88.60 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ และที่อัตราภาระบรรทุกสารอินทรีย์ 0.5 กิโลกรัมซีโอดี/ลูกบาศก์เมตร/วัน ระบบมีประสิทธิภาพในการกำจัดซีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 85.05, 93.35, 90.65 และ 88.10 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ประสิทธิภาพในการกำจัดซัลเฟตเฉลี่ยเท่ากับ 77.30, 93.08, 88.11 และ 79.74 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ และประสิทธิภาพในการกำจัดของแข็งแขวนลอยเฉลี่ยเท่ากับ 84.19, 95.01, 90.03 และ 88.64 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ดังนั้นการบำบัดน้ำเสียยางข้นโดยใช้ระบบเอเอสบีอาร์ ในทุกอัตราภาระบรรทุกสารอินทรีย์ ที่รอบเวลาเดินระบบ 7 วัน และความลาดชันความเร็ว 60 ต่อวินาที ระบบสามารถกำจัดซีโอดี ซัลเฟต และของแข็งแขวนลอยได้ประสิทธิภาพดีที่สุด
Other Abstract: To study effects of velocity gradient and organic loading rate on treatment of concentrated latex wastewater by ASBR system. The experiment of cycle number was performed at 1-4 cycle at 1, 3, 5 and 7 days at constant velocity gradient 60 sec[superscript -1] with organic loading rate 3 kgCOD/(m[superscript 3] .d). The system performance for COD removal were found to be 77.91, 80.59, 82.97 and 85.22 %, respectively . Then, the velocity gradients of the system were varied to 40, 60, 80 and 100 sec[superscript -1] and organic loading rates were reduced to be 3, 2, 1 and 0.5 kgCOD/(m[superscript 3].d), it was found that at organic loading rate 3 kg COD/(m[superscript 3].d) and operating velocity gradients at 40, 60, 80 and 100 sec[superscript -1] , removal percentages for COD were 77.05, 85.22, 80.97 and 79.19 %, respectively ; for sulfate were 55.35, 67.66, 63.79 and 58.85 %, respectively ; and for suspended solid were 80.36, 96.00, 92.72 and 86.72 % ; respectively. Also, at organic loading rate 2 kgCOD/(m[superscript 3] .d) and operating velocity gradients at 40, 60, 80 and 100 sec[superscript -1] , removal percentages for COD were 79.57, 87.28, 82.72 and 80.97 %, respectively ; for sulfate were 60.50, 68.44, 66.35 and 63.05 %, respectively ; and for suspended solid were 82.47, 96.62, 93.30 and 88.10 % ; respectively. It was found that at organic loading rate 1 kgCOD/(m[superscript 3] .d) and operating velocity gradients at 40, 60, 80 and 100 sec[superscript -1] , removal percentages for COD were 80.95, 89.63, 85.54 and 85.28 %, respectively ; for sulfate were 69.98, 73.98, 73.63 and 70.98 %, respectively ; and for suspended solid were 86.14, 94.21, 92.73 and 88.60 % ; respectively. Moreover, it was found that at organic loading rate 0.5 kgCOD/(m[superscript 3].d) and operating velocity gradients at 40, 60, 80 and 100 sec[superscript -1], removal percentages for COD were 85.05, 93.35, 90.65 and 88.10 %, respectively ; for sulfate were 77.30, 93.08, 88.11 and 79.74 %, respectively ; and for suspended solid were 84.19, 95.01, 90.03 and 88.64 % ; respectively. Therefore, the optimum condition for treatment of latex wastewater by ASBR system is suggested to be with cycle period of 7 days and velocity gradient of 60sec[superscript -1].
Description: วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552
Degree Name: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (สหสาขาวิชา)
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16044
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1253
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2009.1253
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nuttakan_Ka.pdf1.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.