Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16044
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชวลิต รัตนธรรมสกุล-
dc.contributor.authorณัฐกานต์ กาญจนวัฒน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2011-09-29T10:40:27Z-
dc.date.available2011-09-29T10:40:27Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16044-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractศึกษาผลของความลาดชันความเร็วและอัตราภาระบรรทุกสารอินทรีย์ต่อการบำบัดน้ำเสียยางข้น โดยใช้ระบบเอเอสบีอาร์ โดยศึกษาจำนวนรอบเวลาเดินระบบ เป็นจำนวน 1-4 รอบ แต่ละรอบเวลาเดินระบบเท่ากับ 1, 3, 5, และ 7 วัน ความลาดชันความเร็ว 60 ต่อวินาที และอัตราภาระบรรทุกสารอินทรีย์ 3 กิโลกรัมซีโอดี/ลูกบาศก์เมตร/วัน พบว่าระบบมีประสิทธิภาพในการกำจัดซีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 77.91, 80.59, 82.97 และ 85.22 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ จากนั้นศึกษาการเปลี่ยนความลาดชันความเร็วของระบบที่ 40, 60, 80 และ 100 ต่อวินาที ตามลำดับ และลดอัตราภาระบรรทุกสารอินทรีย์เป็น 3, 2, 1 และ 0.5 กิโลกรัมซีโอดี/ลูกบาศก์เมตร/วัน พบว่าที่อัตราภาระบรรทุกสารอินทรีย์ 3 กิโลกรัมซีโอดี/ลูกบาศก์เมตร/วัน ระบบมีประสิทธิภาพในการกำจัดซีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 77.05, 85.22, 80.97 และ 79.19 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ประสิทธิภาพในการกำจัดซัลเฟตเฉลี่ยเท่ากับ 55.35, 67.66, 63.79 และ 58.85 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ และประสิทธิภาพในการกำจัดของแข็งแขวนลอยเฉลี่ยเท่ากับ 80.36, 96.00, 92.72 และ 86.72 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ที่อัตราภาระบรรทุกสารอินทรีย์ 2 กิโลกรัม ซีโอดี/ลูกบาศก์เมตร/วัน ระบบมีประสิทธิภาพในการกำจัดซีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 79.57, 87.28, 82.72 และ 80.97 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ประสิทธิภาพในการกำจัดซัลเฟตเฉลี่ยเท่ากับ 60.50, 68.44, 66.35 และ 63.05 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ และประสิทธิภาพในการกำจัดของแข็งแขวนลอยเฉลี่ยเท่ากับ 82.47, 96.62, 93.30 และ 88.10 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ที่อัตราภาระบรรทุกสารอินทรีย์ 1 กิโลกรัมซีโอดี/ลูกบาศก์เมตร/วัน ระบบมีประสิทธิภาพในการกำจัดซีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 80.95, 89.63, 85.54 และ 85.28 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ประสิทธิภาพในการกำจัดซัลเฟตเฉลี่ยเท่ากับ 69.98, 73.98, 73.63 และ 70.98 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ และประสิทธิภาพในการกำจัดของแข็งแขวนลอยเฉลี่ยเท่ากับ 86.14, 94.21, 92.73 และ 88.60 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ และที่อัตราภาระบรรทุกสารอินทรีย์ 0.5 กิโลกรัมซีโอดี/ลูกบาศก์เมตร/วัน ระบบมีประสิทธิภาพในการกำจัดซีโอดีเฉลี่ยเท่ากับ 85.05, 93.35, 90.65 และ 88.10 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ประสิทธิภาพในการกำจัดซัลเฟตเฉลี่ยเท่ากับ 77.30, 93.08, 88.11 และ 79.74 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ และประสิทธิภาพในการกำจัดของแข็งแขวนลอยเฉลี่ยเท่ากับ 84.19, 95.01, 90.03 และ 88.64 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ดังนั้นการบำบัดน้ำเสียยางข้นโดยใช้ระบบเอเอสบีอาร์ ในทุกอัตราภาระบรรทุกสารอินทรีย์ ที่รอบเวลาเดินระบบ 7 วัน และความลาดชันความเร็ว 60 ต่อวินาที ระบบสามารถกำจัดซีโอดี ซัลเฟต และของแข็งแขวนลอยได้ประสิทธิภาพดีที่สุดen
dc.description.abstractalternativeTo study effects of velocity gradient and organic loading rate on treatment of concentrated latex wastewater by ASBR system. The experiment of cycle number was performed at 1-4 cycle at 1, 3, 5 and 7 days at constant velocity gradient 60 sec[superscript -1] with organic loading rate 3 kgCOD/(m[superscript 3] .d). The system performance for COD removal were found to be 77.91, 80.59, 82.97 and 85.22 %, respectively . Then, the velocity gradients of the system were varied to 40, 60, 80 and 100 sec[superscript -1] and organic loading rates were reduced to be 3, 2, 1 and 0.5 kgCOD/(m[superscript 3].d), it was found that at organic loading rate 3 kg COD/(m[superscript 3].d) and operating velocity gradients at 40, 60, 80 and 100 sec[superscript -1] , removal percentages for COD were 77.05, 85.22, 80.97 and 79.19 %, respectively ; for sulfate were 55.35, 67.66, 63.79 and 58.85 %, respectively ; and for suspended solid were 80.36, 96.00, 92.72 and 86.72 % ; respectively. Also, at organic loading rate 2 kgCOD/(m[superscript 3] .d) and operating velocity gradients at 40, 60, 80 and 100 sec[superscript -1] , removal percentages for COD were 79.57, 87.28, 82.72 and 80.97 %, respectively ; for sulfate were 60.50, 68.44, 66.35 and 63.05 %, respectively ; and for suspended solid were 82.47, 96.62, 93.30 and 88.10 % ; respectively. It was found that at organic loading rate 1 kgCOD/(m[superscript 3] .d) and operating velocity gradients at 40, 60, 80 and 100 sec[superscript -1] , removal percentages for COD were 80.95, 89.63, 85.54 and 85.28 %, respectively ; for sulfate were 69.98, 73.98, 73.63 and 70.98 %, respectively ; and for suspended solid were 86.14, 94.21, 92.73 and 88.60 % ; respectively. Moreover, it was found that at organic loading rate 0.5 kgCOD/(m[superscript 3].d) and operating velocity gradients at 40, 60, 80 and 100 sec[superscript -1], removal percentages for COD were 85.05, 93.35, 90.65 and 88.10 %, respectively ; for sulfate were 77.30, 93.08, 88.11 and 79.74 %, respectively ; and for suspended solid were 84.19, 95.01, 90.03 and 88.64 % ; respectively. Therefore, the optimum condition for treatment of latex wastewater by ASBR system is suggested to be with cycle period of 7 days and velocity gradient of 60sec[superscript -1].en
dc.format.extent2040119 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1253-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัดen
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- วิธีแบบไร้ออกซิเจนen
dc.subjectน้ำยางen
dc.titleผลของความลาดชันความเร็วและอัตราภาระบรรทุกสารอินทรีย์ต่อการบำบัดน้ำเสียยางข้นโดยใช้ระบบเอเอสบีอาร์en
dc.title.alternativeEffect of velocity gradient and organic loading rate on treatment of concentrated latex wastewater by ASBR systemen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (สหสาขาวิชา)es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorfencrt@kankrow.eng.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1253-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nuttakan_Ka.pdf1.99 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.