Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23328
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนกพร จิตปัญญา-
dc.contributor.advisorสุนิดา ปรีชาวงษ์-
dc.contributor.authorวไลพรรณ เอี่ยมกมล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-11-08-
dc.date.available2012-11-08-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23328-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเพศ อายุ ระดับความพิการ การมองเห็น คุณค่าในตนเอง ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน การทำหน้าที่ด้านการรู้คิด การทำหน้าที่ของ ครอบครัวและภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะวัยผู้ใหญ่ กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะที่เข้ารับ การรักษาเป็นผู้ป่วยนอกแผนกศัลยกรรมประสาทของโรงพยาบาลในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 140 คน ซึ่ง ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วย แบบประเมิน ระดับความพิการ แบบประเมินการมองเห็นคุณค่าในตนเอง แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตร ประจำวัน แบบประเมินการทำหน้าที่ด้านการรู้คิด แบบสอบถามการทำหน้าที่ของครอบครัวและแบบประเมิน ภาวะซึมเศร้า ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และหาความเที่ยงของแบบประเมินได้ เท่ากับ.93, .73, .84, .71, .70, .78 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์อีตาและค่าสถิติไคสแควร์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ โดยเฉลี่ยแล้วไม่เกิดภาวะซึมเศร้า โดยมีคะแนนเฉลี่ยของภาวะซึมเศร้า เท่ากับ 10.26 คะแนน (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 3.88) 2. เพศมีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (χ2 = 5.81) 3. ระดับความพิการมีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 (χ2 = 78.58) 4. การมองเห็นคุณค่าในตนเอง ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน การทำหน้าที่ด้านการรู้ คิด มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (χ2 = 42.57, 173.57, 48.02 ตามลำดับ) 5. การทำหน้าที่ของครอบครัวมีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ค่าสัมประสิทธิ์ Eta มีค่าเท่ากับ .414 6. อายุไม่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to examine the relationships among selected factors and depression in adult patients with traumatic brain injury. The participants were 140 traumatic brain injury patients randomly selected from three neurological surgery out patient departments in Bangkok. The instrument used in the study was a set of questionnaires including a demographic data form , the disability scale, the Rosenberg Self-esteem scale, the activity of daily living scale, , the activity of daily living scale, the MMSE-Thai Scale, the family functioning scale, and the CES-D scale. All instruments were validity by a panel of experts. The reliability of instruments were .93, .71, .75, .70, .75, and .70, respectively. Data were analyzed by using Eta coefficient, and Chi-square tested at the significant level of .05 The major findings were as follows: 1. Mean of depression scores in patients with traumatic brain injury indicated no depression with mean scores equal to 10.26 (SD = 3.88). 2. Gender was significantly correlated to depression at the level of .05 (χ2 = 5.81). 3. Level of disability was significantly correlated with depression in traumatic brain injury patients at the level of .05 (χ2 = 78.58). 4. Self-esteem, activity of daily living, cognitive function were significantly correlated with depression in traumatic brain injury patients at the level of .05 (χ2 = 42.57, 173.57, and 48.02 respectively.). 5. Family functioning was significantly correlated with depression in traumatic brain injury patients at the level of .05 (Eta = .414). 6. Age was not significantly correlated with depression (Eta = .318).en
dc.format.extent2103440 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.990-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความซึมเศร้าen
dc.subjectศีรษะบาดเจ็บ -- ผู้ป่วยen
dc.subjectแบบการคิดen
dc.subjectครอบครัวen
dc.subjectครอบครัวen
dc.subjectการดำเนินชีวิตen
dc.titleปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะวัยผู้ใหญ่en
dc.title.alternativeCorrelates of depression in adult patients with traumatic brain injuryen
dc.typeThesises
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพยาบาลศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorhchanokp@pioneer.netserv.chula.ac.th-
dc.email.advisorSunida.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.990-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
walaiphan_ia.pdf2.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.