Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26604
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Denis, Eugene | - |
dc.contributor.author | Supin Julvichitpong | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Grauate School | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-28T07:59:15Z | - |
dc.date.available | 2012-11-28T07:59:15Z | - |
dc.date.issued | 1985 | - |
dc.identifier.isbn | 9745648922 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/26604 | - |
dc.description | Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University,1985 | en |
dc.description.abstract | Le theme de l’amour et de la femme, source importante d' inspiration chez presque tous les ecrivains, joue un role majeur dans la literature francaise de tous les genres et de toutes les époques. C’ est le theme principal de deux celebres comedies: le Jeu de l’ amour et du hasard de Marivaux, et On ne badine pas avec l’ amour de Musset. Ces deux grands dramaturges ont vecu a des époques differentes: l’ un a compose ses pieces dans la premiere moitie du XVIII ͤsiècle, et l’ autre dans la premiere moitie du XIXͤ siècle, Tous les deux ont traite ce theme de l’ amour et de la femme en utilisant un procede de style Presque identique: c’ est l’ employ du badinage improvise (dit marivaudage chez Narivaux). Ils ont donne une grande importance a leurs heros, Silvia et Camille, deux jeunes filles qui sont confrontees au meme probleme: celui de marriage arrange d’ avance, et de l’ amour-propre des heroines qui les empeche de s’ avouer amoureuses avant d’ avoir acquis la certitude d’ etre aimees veritablement par le partenaire qui leur est propose. Cette resemblance a inspire l’ auteur de la these d’ entreprendre une recherché comparative sur la maniere de traiter ce theme et le style employe par les deux auteurs en etudiant d’ abord l’ influence des milieu dans lesquels vivaient les deux heroines, sans oublier d’ etudier les caracteres innes de chacune d’elles. Puis nous avons analyse la naissance et le deveoppement de l’ amour chez les deux protagonists pour savoir comment et pourquoi l’ une reussit a franchir avec brio et tout en nous divertissant les obstacles qui se dressaient devant la realisation de son reve amoureux, tandis que l’ amour chez Silvia a un aspect altruiste, tandis que l’ amour chez Camille a un aspect egoiste. Enfin, nous avons trouve que les deux conceptions de l’ amour et de la femme, conception optimiste chez Marivaux et conception pessimiste chez Musset, ont profondement marque le style respectif des deux auteurs. | - |
dc.description.abstractalternative | แก่นเรื่องความรักและผู้หญิง นับเป็นบ่อเกิดของแรงดลใจแก่นักเขียนเกือบทุกคน และมีบทบาทสำคัญอันดับแรกในวรรณคดีฝรั่งเศสทุกประเภทและทุกยุค ทุกสมัย ดังที่ปรากฎเป็นแก่นเรื่องสำคัญที่สุดในบทละครของมารีโวซ์ และของมูเซต์ คือเรื่อง เลอ เชอ เดอ ลามูร์ เอ ดู อาซาร์ และเรื่อง อง เนอ บาดีน ปา อแวค ลามูร์ มารีโวซ์และมูเซต์ เป็นนักเขียนบทละครที่มีชีวิตอยู่ต่างสมัยกัน มารีโวซ์มีชีวิตอยู่ในต้นคริสตศตวรรษที่ 18 ส่วนมูเซต์อยู่ในต้นคริสตศตวรรษที่ 19 แต่ทั้งสองได้เสนอแก่นเรื่องเดียวกันนี้ในงานของเขา ซึ่งมีลีลาการประพันธ์ที่คล้ายคลึงกัน กล่าวคือ มีการดำเนินเรื่องที่ให้ความสำคัญแก่บทสนทนาโต้ตอบอย่างฉับพลันของตัวละครเอก โดยใช้สำนวนโวหารที่เต็มไปด้วยการเล่นคำ (le badinage improvise) ซึ่งเราเรียกลักษณะนี้ในงานของมารีโวซ์ว่า มารีโวดาช มารีโวซ์และมูเซต์กำหนดให้ซิลเวียและกามีย์ เป็นตัวนางเอกของบทละครทั้งสองเรื่อง ที่ต้องเผชิญปัญหาเดียวกัน คือการแต่งงานแบบคลุมถุงชนขณะเดียวกัน นางเอกทั้งสองก็พบกับอุปสรรคที่คล้ายคลึงกันของความรัก นั่นคือ อุปสรรคอันเกิดจากความมีทิฐิ ซึ่งทำให้ทั้งสองไม่สามารถเผยความในใจได้จากลักษณะความคล้ายคลึงกันเหล่านี้ ทำให้ผู้เขียนสนใจและศึกษาเปรียบเทียบ แก่นเรื่องความรักและผู้หญิงในบทละครทั้งสองเรื่อง โดยได้ศึกษาอิทธิพลของสังคมรอบด้านที่มีส่วนในการพัฒนาอุปนิสัยของซิลเวียและกามีย์ รวมทั้งอุปนิสัย ที่มีมาแต่กำเนิดของตัวละครทั้งสองนี้ด้วย จากนั้นเป็นการศึกษาพัฒนาการของความรักว่าเกิดขึ้นและจบลงอย่างไร เพื่อที่จะทราบว่าทำไมซิลเวียจึงเอาชนะอุปสรรคและได้พบกับความสมหวังในความรัก ในขณะที่กามีย์ต้องพบกับความผิดหวังและโศกนาฏกรรม บทสรุปที่ต่างกันของบทละครทั้งสองเรื่อง แสดงให้เห็นว่าความรักของซิลเวียเป็นความรักที่โอนอ่อนผ่อนโยน แต่ความรักของกามีย์ เต็มไปด้วยความเห็นแก่ตัว ในท้ายที่สุด เราพบว่า ลีลาการประพันธ์ที่ต่างกัน ของนักเขียนทั้งสอง ได้สะท้อนให้เห็นทัศนคติในด้านบวกและลบของมารีโวซ์ และของมูเซต์ตามลำดับในส่วนที่เกี่ยวกับแก่นเรื่องความรักและผู้หญิงอีกด้วย | - |
dc.format.extent | 429933 bytes | - |
dc.format.extent | 1219575 bytes | - |
dc.format.extent | 623852 bytes | - |
dc.format.extent | 790831 bytes | - |
dc.format.extent | 545583 bytes | - |
dc.format.extent | 1136383 bytes | - |
dc.format.extent | 594250 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | fr | es |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en |
dc.rights | Chulalongkorn University | en |
dc.title | Le Theme de l'amour et de la femme dans Le Jeu de l'amour et du hasard de Marivaux et dans On ne badine pas avec l'amour de Musset | en |
dc.title.alternative | ความรักและผู้หญิง ในบทละครเรื่อง "เลอ เชอ เดอ ลามูร์ เอ ดู อาซาร์" ของ มารีโวซ์ และเรื่อง "อง เนอ บาดีน ปา อแวค ลามูร์" ของ มูเซต์ | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | Master of Arts | es |
dc.degree.level | Master's Degree | es |
dc.degree.discipline | French | - |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Supin_Ju_front.pdf | 419.86 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Supin_Ju_ch1.pdf | 1.19 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Supin_Ju_ch2.pdf | 609.23 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Supin_Ju_ch3.pdf | 772.3 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Supin_Ju_ch4.pdf | 532.8 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Supin_Ju_ch5.pdf | 1.11 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Supin_Ju_back.pdf | 580.32 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.