Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3426
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมเกียรติ งามประเสริฐสิทธิ์-
dc.contributor.advisorภัทรพรรณ ประศาสน์สารกิจ-
dc.contributor.authorพรรณะ เตียงพานิช-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-02-15T06:22:36Z-
dc.date.available2007-02-15T06:22:36Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745317063-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3426-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractการศึกษาการแปรรูปร่วมของถ่านหินลิกไนต์ จากอำเภอแม่เมาะ และกะลามะพร้าวให้เป็นของเหลวในตัวทำลายเตตระลิน ในเครื่องปฏิกรณ์แบบแบตช์ขนาด 250 มิลลิลิตร ที่อุณหภูมิ 375-475 ํC เวลา 15-75 นาที ขนาดอนุภาค 0.25-1.6 มิลลิเมตร และอัตราส่วนระหว่างถ่านหินต่อกะลามะพร้าว (น้ำหนัก/น้ำหนัก 0:1, 1:3, 1:1, 3:1 และ 1:0 ทดลองแบบแฟกทอเรียลสองระดับ เพื่อหาภาวะที่เหมาะสมสำหรับค่าร้อยละการเปลี่ยน และร้อยละผลได้ของเหลว พบว่าตัวแปรกระบวนการที่มีผลต่อร้อยละผลได้ของเหลว อย่างมีนัยสำคัญคือ อุณหภูมิ ขนาดอนุภาค และอัตราส่วนระหว่างถ่านหินต่อกะลามะพร้าว โดยไม่มีอัตรกิริยาของทุกตัวแปร ผลของตัวแปรกระบวนการคือ การเพิ่มอุณหภูมิทำให้ร้อยละผลได้ของเหลว ค่าการเปลี่ยนรวม และผลิตภัณฑ์ของเหลวมีคุณภาพลดลง เวลาไม่มีผลต่อร้อยละผลได้ของเหลว และค่าการเปลี่ยนรวม แต่ช่วยปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์ของเหลว อนุภาคขนาดเล็ก ให้ผลิตภัณฑ์ของเหลวที่มีคุณภาพดี สำหรับกะลามะพร้าวช่วยเพิ่มปริมาณผลได้ผลิตภัณฑ์ของเหลว ค่าการเปลี่ยนรวม และช่วยปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์ของเหลว โดยภาวะที่เหมาะสมคือ อุณหภูมิ 400 ํC และเวลา 30 นาที ขนาดอนุภาค 0.93 มิลลิเมตร และอัตราส่วนระหว่างถ่านหินต่อกะลามะพร้าวเท่ากับ 1:3 ให้ค่าการเปลี่ยนรวม 87% และผลได้ของเหลวได้ 63% ตามลำดับ สำหรับผลของการเติมตัวเร่งปฏิกิริยา ไอร์ออน (III) ซัลไฟด์ (ปริมาณเหล็กบนถ่านหิน 2.5% ของน้ำหนักถ่านหิน) พบว่าตัวเร่งปฏิกิริยาช่วยลดอุณหภูมิในการทำปฏิกิริยา โดยให้ค่าร้อยละการเปลี่ยนและร้อยละผลได้ของเหลว ใกล้เคียงกับกรณีที่ไม่ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา และตัวเร่งปฏิกิริยาช่วยปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ของเหลวen
dc.description.abstractalternativeCo-liquefaction of Mae Moh lignite coal with coconut shell - a biomass waste - in tetralin has been carried out in a Parr reactor of 250-ml capacity at a temperature range of 375-475 ํC, reaction time 15-75 min, particle size range of 0.25-1.6 mm and coal: coconut shell (wt/wt) ratio of 0:1, 1:3, 1:1, 3:1 and 1:0. The two-level factorial experimental design method was used to optimize the liquefaction process carried out with respect to conversion and liquid yield. The total conversion reached 87% and liquid yield reached 63% at optimum conditions of temperature 400 ํC, reaction time 30 min, particle size 0.93 mm and 1:3 coal:coconut shell. The characterization of liquid product using simulated distillation gas chromatography showed that increasing time improved the quality of liquid product, but total conversion and liquid yield were decreased. Finally, using ion sulfur as a catalyst can reduce reaction temperature, while liquid yield and total conversion were the same as the runs without catalysten
dc.format.extent2872696 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectถ่านหิน--การทำให้เป็นของเหลวen
dc.subjectกะลามะพร้าว--การทำให้เป็นของเหลวen
dc.titleการแปรรูปร่วมของถ่านหินและกะลามะพร้าวให้เป็นของเหลวen
dc.title.alternativeCo-liquefaction of coal and coconutshellen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorsomkiat@sc.chula.ac.th, Somkiat.N@Chula.ac.th-
dc.email.advisorppattara@netserv.chula.ac.th, Pattarapan.P@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Punna.pdf1.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.