Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41699
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิรีรัตน์ จารุจินดา
dc.contributor.advisorอรอุษา สรวารี
dc.contributor.authorดาววัน จาระเวชสาร
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned2014-03-23T06:08:03Z
dc.date.available2014-03-23T06:08:03Z
dc.date.issued2549
dc.identifier.isbn9741432216
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41699
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตภุประสงค์เพื่อหาสูตรสารเคลือบผิวอินทูเมสเซนต์ที่คงทนต่อการชักล้างสำหรับปรับปรุงสมบัติหน่วงไฟของผ้าฝ้ายโดยทำการแปรชนิดและปริมาณขององค์ประกอบหลักของสารเคลือบผิว นำผ้าฝ้ายมาทำการดัดแปรด้วยสารประกอบแคทไออนิกก่อนทำการเคลือบ จากนั้นทดสอบหาพฤติกรรมและอัตราเร็วในการลุกลามของเปลวไฟ ลักษณะสัณฐานวิทยาสมบัติทางความร้อนด้วยเทคนิค TGA และการเปลี่ยนแปลงสีของผ้าฝ้ายภายหลังการเคลือบทั้งก่อนและหลังซักล้าง จากการทดลองพบว่าก่อนซักล้างผ้าฝ้ายที่เคลื่อบด้วยสารผิวทุกสูตรมีสมบัติหน่วยไฟที่ดีกว่าผ้าฝ้ายที่ไม่ได้เคลือบ โดยมีอัตราการลุกลามของเปลวไฟต่ำมากจนไม่สามารถวัดได้ เปลวไฟดับทันทีหลังจากนำแหล่งต้นไฟออก ชาร์ที่เกิดขึ้นมีความยาวสั้นมาก หลังซักล้างพบว่า สารเคลือบผิวส่วนใหญ่ยังคงทำให้ผ้าฝ้ายมีสมบัติหน่วงไฟที่ดี แต่สารเคลื่อบผิวที่ใช้แอมโมเนียมฟอสเฟตเป็นแหล่งกรด และเมลามีนฟอร์มาลดีไฮด์เรซินเป็นสารฟู ทำให้ผ้าฝ้ายมีสมบ้ัติหน่วยไฟด้อยกว่าการใช้แอมโมเสียมพอลิฟอสเฟตและผงเมลามีน ในขณะที่สารเคลือบผิวที่ใช้แป้ง หรือเพนตะเอริไทรทอล หรือไดเพนตเอริไทรทอล เป็นแหล่งคาร์บอน และเอทิลีน-ไวนิลอะซิเตตโคพอลิเมอร์หรือ 100% อะคริลิกอิมัลชันเป็นสารยึด ทำให้ผ้าฝ้ายมีสมบัติหน่วงไฟที่ดีใกล้เคียงกันเช่นเดียวกับก่อนซักล้าง เมื่อพิจารณสมบัติโดยรวมพบว่าสูตรสารเคลือบผิวอินทูเมสเซนต์ที่ประกอบด้วยแอมโมเนียมพอลิฟอสเฟต 20 ส่วนโดยน้ำหนัก ผงเมลามีน 15 ส่วนโดยน้ำหนัก แป้ง หรือเพนตะเอริไทรทอล หรือไดเพนตะเอริไทรทอล 5 ส่วนโดยน้ำหนัก เอทิลีน-ไวนิลอะซิเตตโคพอลิเมอร์ 15 ส่วนโดยน้ำหนักกรดพอลิอะคริลิก 30 ส่วนโดยน้ำหนัก และน้ำกลั่น 10 ส่วนโดยน้ำหนัก เป็นสูตรที่เหมาะสมที่สุดที่คงทนต่อการชักล้าง ทำให้ผ้าฝ้ายที่เคลือบมีสัมผัสนุ่ม หน่วงไฟได้ดี และไม่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของสี
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research is to formulate the intumescent coating for flame reardancy improvement of cotton fabric by varying type and amount of main components. Before coating, the cotton fabric has been modified by cationic fixing agent. 'Burning behavior and flame spread rate of coated fabric before and after washing were then examined. Likewise, morphology, thermal properties using TGA technique and color chang of coated fabric werealso investigated. It is found that, before washing, all coated fabric exhibited better flame cetardancy than that of an uncoated fabric. The flame spread rate was too slow to be calculated and was immediatel self-extinguished after removing the ignition source. The length of a formed-carbonaceous char was very short. Meanwhile, after washing, most of the intumescent coating still provided coated fabric with good flame retardancy. However, the coating suing ammonium phosphate as an acid source and melamine formaldehyde as a shupmific compound provided coated fabric with inferior flame retardancy than that of the one using amomium polyphosphate and melamine powder. However, the flame retardancy of coated fabric with the coating using starch or pentaerythritol or dipentaerythritol as a carbon compound and ethylene-vinyl acetate copolymer or 100% acrylic emulsion as a binder were within the vicinity.
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.232-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleผลขององค์ประกอบหลักของสารเคลือบผิวอินทูเมสเซนต์ต่อสมบัติหน่วงไฟของผ้าฝ้ายen_US
dc.title.alternativeEffects of main components of intumescent coating on flame retardancy of cotton fabricen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ประยุกต์และเทคโนโลยีสิ่งทอen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.232-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Daowan_ch_front.pdf2.4 MBAdobe PDFView/Open
Daowan_ch_ch1.pdf968.61 kBAdobe PDFView/Open
Daowan_ch_ch2.pdf5.54 MBAdobe PDFView/Open
Daowan_ch_ch3.pdf1.95 MBAdobe PDFView/Open
Daowan_ch_ch4.pdf6.29 MBAdobe PDFView/Open
Daowan_ch_ch5.pdf814.32 kBAdobe PDFView/Open
Daowan_ch_back.pdf1.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.