Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4537
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพนา ทองมีอาคม-
dc.contributor.authorภัทรา ชื่นชมลดา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.coverage.spatialกรุงเทพฯ-
dc.date.accessioned2007-10-29T11:34:13Z-
dc.date.available2007-10-29T11:34:13Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741303165-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4537-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาพฤติกรรมในการบริโภคสินค้าของผู้บริโภคหญิงอายุ 12-49 ปีที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร 2. ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางประชากร และปริมาณหรือระดับการใช้สินค้า (มาก กลาง และน้อย) โดยการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง 612 คน ด้วยแบบสอบถามซึ่งมีคำถามครอบคลุมความถี่และปริมาณในการใช้สินค้าอุปโภคและบริการจำนวน 50 รายการ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยทางด้านอายุ ระดับการศึกษา อาชีพ ระดับรายได้ และสถานภาพทางการสมรสมีผลต่อการพฤติกรรมการใช้สินค้าในแต่ละประเภท นอกจากนี้ ยังพบว่ากลุ่มผู้ตอบที่มีอายุน้อย มีการศึกษาต่ำกว่า เป็นนักเรียนนักศึกษา มีรายได้ต่ำ และเป็นโสด จะเป็นผู้บริโภคสินค้าจำพวกอาหาร ขนมขบเคี้ยว และเครื่องดื่มประเภทน้ำอัดลมและนมสูงกว่า และในทางกลับกัน กลุ่มผู้ตอบที่มีอายุมาก มีการศึกษาสูง มีรายได้สูงกว่า และสมรสแล้ว จะเป็นผู้ใช้สินค้าอุปโภคและสินค้าจำพวกข้าวของเครื่องใช้ เสื้อผ้าและเครื่องประดับสูงกว่าen
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to (1) examine the consumption behavior of Bangkok base female consumers aged 12-49 (2) monitor the relationship between the population's demographic profiles and its usage of products (heavy, medium and light). Information needed from the population was acquired by the use of questionnaires comprising on the population's amount and frequency of usage of 50 chosen products and sevices. This study shows that factors such as age, education, occupation, income and marital status influence usage of products. Moreover, it also reveals that younger, lower education, lower income rate and single respondents tend to be consumers of food products, snacks and certain beverages such as carbonated drink and milk more than their older counterparts. Older high-income married respondents, on the other hand, are more likely to be consumers of inedible goods, clothing and accessories.en
dc.format.extent2168803 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleลักษณะและพฤติกรรมการใช้สินค้าของผู้บริโภคสตรีในเขตกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeConsumer profile and product usage of female consumers in Bangkoken
dc.typeThesisen
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineการโฆษณาen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPana.T@chula.ac.th-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PattraChuen.pdf2.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.