Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47901
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปราณี ฬาพานิช | - |
dc.contributor.advisor | ทัศนีย์ สินสกุล | - |
dc.contributor.author | รัชนี เดชาติวงศ์ ณ อยุธยา | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2016-06-06T01:43:32Z | - |
dc.date.available | 2016-06-06T01:43:32Z | - |
dc.date.issued | 2530 | - |
dc.identifier.isbn | 9745678074 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/47901 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530 | en_US |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์เล่มนี้มีความมุ่งหมายที่จะศึกษาจริยธรรมของท้าววิกรมาทิตย์ผู้ได้รับยกย่องว่าเป็นพระราชาผู้มีจริยธรรมดีเลิศ เป็นแบบอย่างของพระราชาในอุดมคติ และจริยธรรมอื่นๆ ที่สอดแทรกไว้ในนิทานวิกรมจริตเพื่อสอนจริยธรรมให้แก่ชนชั้นสูง และคนทั่วไป เพราะจากบันทึกของหลวงจีนฟาเหียนแสดงให้เห็นว่าจริยธรรมของพระราชาและคนทั่วไปเป็นรากฐานสำคัญที่ทำให้สังคมของคนอินเดียในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 5 ซึ่งเป็นรัชสมัยของพระเจ้าจันทรคุปต์ที่ 2 ผู้มีสมัญญานามว่า วิกรมาทิตย์ มีความสงบสุขและเจริญรุ่งเรืองมากกว่าสมัยใดๆ เนื้อเรื่องของวิทยานิพนธ์แบ่งออกเป็น 5 บทคือ บทที่ 1 เป็นบทนำกล่าวถึงความเป็นมาของปัญหา ความมุ่งหมายในการวิจัย ขอบเขตของการวิจัยวิธีดำเนินการวิจัย และประโยชน์ที่จะได้รับจากการวิจัย บทที่ 2 ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับนิทานวิกรมจริตฉบับภาษาสันสกฤต 4 ฉบับ ซึ่งฉบับภาคใต้เป็นฉบับที่ใกล้เคียงกับต้นฉบับดั้งเดิมมากที่สุด และวิทยานิพนธ์เล่มนี้ได้ใช้ฉบับของภาคใต้เป็นหลักในการศึกษาวิเคราะห์ บทที่ 3 ว่าด้วยจริยธรรมในนิทานวิกรมจริต ซึ่งมีจริยธรรมข้อความเสียสละเป็นจริยธรรมสำคัญของท้าววิกรมาทิตย์ ของชนชั้นสูงและของคนทั่วไป บทที่ 4 ว่าด้วยจริยธรรมที่สามารถนำมาใช้ในสังคมไทยปัจจุบันและจริยธรรมที่ไม่สามารถนำมาใช้ในสังคมไทยปัจจุบัน จริยธรรมที่สามารถนำมาใช้ในสังคมไทยปัจจุบันนั้น บางข้อสามารถนำมาใช้ได้โดยตรง และบางข้อต้องนำมาประยุกต์ก่อนใช้ บทที่ 4 เป็นบทสรุปและข้อเสนอแนะ สาระสำคัญของวิทยานิพนธ์เรื่องนี้อยู่ที่การศึกษาวิเคราะห์จริยธรรมของท้าววิกรมาทิตย์ จริยธรรมของคนในสังคม จริยธรรมข้อที่สำคัญที่สุด และจริยธรรมที่ควรนำมาใช้ในสังคมปัจจุบัน | en_US |
dc.description.abstractalternative | This thesis is an attempt to study the conduct and behavior of King Vikramaditya, who was eulogized in the Sanskrit literature as an ideal monarch of the highest standard, and to make an evaluation of the ethical teachings found in the Vikramacarita Tale which are meant for the noble class people down to commoners. According to Fa-hian’s account, the ethical standard of the king and of the public was the prime factor for the attainment and the maintenance of peace and glory of the Indian society in the fifth century, particularly in the reign of Candragupta II who was also known as King Vikramaditya. The thesis is divided into five chapters. Chapter I is the introduction dealing with the problems, the purpose and scope of research, the method of doing research and its contribution to the society of the modern days. Chapter II deals with the study of the four Sanskrit versions of the Tale. It is found that the Southern version, which was written primarily in prose, is more faithful to the original than the others. The analytical study is therefore based on this southern version. Chapter III is on the ethics found in the Vikramacarita Tale, especially the king’s self sacrifice for the welfare of the public, and the ethics of the people from the upper castes down. Chapter IV deals with the ethical teachings from the application point of view. Some of these teachings can be directly applied in the Thai society, whereas others have to be modified before they can be implemented. Chapter V is the conclusion and suggestions. The main points in this thesis are the study of the ethical standard followed by King Vikramaditya and by the people, the most significant ethical teachings and those which should be introduced and emphasized in the modern society in Thailand. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | จริยศาสตร์ | en_US |
dc.subject | ราชธรรม | en_US |
dc.subject | นิทานวิกรมจริต -- ประวัติและวิจารณ์ | en_US |
dc.subject | วรรณคดีสันสกฤต -- ประวัติและวิจารณ์ | en_US |
dc.title | จริยธรรมในนิทานวิกรมจริต : การศึกษาเชิงวิเคราะห์ | en_US |
dc.title.alternative | The ethics in the vikama-carita : an analytical study | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | อักษรศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | ภาษาตะวันออก | - |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.email.advisor | Tasanee.Si@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Rachanee_de_front.pdf | 1.78 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rachanee_de_ch1.pdf | 434.53 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Rachanee_de_ch2.pdf | 4.41 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rachanee_de_ch3.pdf | 3.31 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rachanee_de_ch4.pdf | 1.47 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Rachanee_de_ch5.pdf | 449.62 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Rachanee_de_back.pdf | 25.9 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.