Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53088
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อัมพร ม้าคนอง | - |
dc.contributor.author | ตีรวิชช์ ทินประภา | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2017-06-22T14:24:53Z | - |
dc.date.available | 2017-06-22T14:24:53Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53088 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาและความสำเร็จในการเรียนของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในโครงการผู้มีความสามารถพิเศษด้านคณิตศาสตร์ ในกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนที่ศึกษาในโครงการผู้มีความสามารถพิเศษด้านคณิตศาสตร์ ในกรุงเทพมหานคร ปีการศึกษา 2550 จำนวน 607 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามสถานภาพ แบบวัดปัจจัยด้านจิตวิทยา แบบวัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และแบบวัดการรับรู้ความสามารถของตนเองทางคณิตศาสตร์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ความถี่ ร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ภายในของเพียร์สัน และสร้างสมการทำนายด้วยวิธีการถดถอยแบบเพิ่มตัวแปรเป็นลำดับขั้น ผลการวิจัยพบว่า 1. ตัวแปรที่มีอำนาจและเข้าสู่สมการในการทำนายการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อในโครงการผู้มีความสามารถพิเศษด้านคณิตศาสตร์คือ อิทธิพลจากผู้ปกครอง (X₉) อิทธิพลจากโครงการ (X₁₁) อิทธิพลจากเพื่อน (X₁₀) ระดับการศึกษาของผู้ปกครองต่ำกว่า ป.4 หรือ ป.4 (X₃.₁) และเจตคติต่อโรงเรียนที่ศึกษา (X₇) ร่วมกันทำนายความแปรปรวนของการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อในโครงการได้ร้อยละ 37.7 และได้สมการถดถอยในรูปคะแนนดิบ และคะแนนมาตรฐานตามลำดับ ดังนี้ Y'[subscript atten] = -0.227+0.671(X₉)+0.309(X₁₁)+0.175(X₁₀)+0.186(X₃.₁)-0.097(X₇) Z'[subscript atten] = 0.466(X₉)+0.314(X₁₁)+0.137(X₁₀)+0.092(X₃.₁)-0.106(X₇)2. ตัวแปรที่มีอำนาจและเข้าสู่สมการในการทำนายความสำเร็จทางด้านการเรียน คือ เพศ (X₁) อาชีพของผู้ปกครองค้าขายหรือประกอบธุรกิจส่วนตัว (X₄.₂) ผู้ปกครองประกอบอาชีพรับราชการอื่นนอกจากครู อาจารย์ (X₄.₅) ความรับผิดชอบ (X₁₄) เจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ (X₆) และผู้ปกครองอาชีพรับจ้าง แรงงาน (X₄.₁) ร่วมกันทำนายความแปรปรวนของความสำเร็จในการเรียนได้ร้อยละ 13.7 และได้สมการถดถอยในรูปคะแนนดิบ และคะแนนมาตรฐานตามลำดับ ดังนี้ Y'[subscript achieve] = 3.526+0.151(X₁)-0.144(X₄.₂)+0.076(X₄.₅)-0.126(X₁₄)+0.164(X₆)+0.021(X₄.₁) Z'[subscript achieve] = 0.183(X₁)-0.255(X₄.₂)+0.154(X₄.₅)-0.137(X₁₄)+0.148(X₆)+0.108(X₄.₁) | en_US |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this study was to study factors affecting upper secondary school students' decision making in selecting mathematics talented program and learning achievement in Bangkok metropolis. The subjects of this study were 607 students in mathematics talented program in Bangkok metropolis, academic year 2007. The research instruments were questionnaire asking about status and tests of psychological factors, expected characteristics (diligence, responsibility and punctuality) and perception of self proficiency in mathematics. The data were analyzed by using Pearson intercorrelation coefficient and stepwise regression equation for prediction. The result of the study indicated that: 1. Variables which affect student's decision making to study mathematics talented program were influence from parents (X₉), influence from the project (X₁₁), influence from friends (X₁₀), parents' educational background of grade 4 and below (X₃.₁) and attitude towards their school (X₇). They altogether could predict at 37.7% and the regression equations of raw score and standard score were as follow: Y'[subscript atten] = -0.227+0.671(X₉)+0.309(X₁₁)+0.175(X₁₀)+0.186(X₃.₁)-0.097(X₇) Z'[subscript atten] = 0.466(X₉)+0.314(X₁₁)+0.137(X₁₀)+0.092(X₃.₁)-0.106(X₇) 2. Variables which affect learning achievement in mathematics were sex (X₁), parents' occupations of selling or personal business (X₄.₂), parents who are government officials besides teachers (X₄.₅), responsibility (X₁₄), attitude towards mathematics (X₆), and parents who are employees of the working level (X₄.₁). They altogether could predict at 13.7% and the regression equations of raw score and standard score were as follow: Y'[subscript achieve] = 3.526+0.151(X₁)-0.144(X₄.₂)+0.076(X₄.₅)-0.126(X₁₄)+0.164(X₆)+0.021(X₄.₁) Z'[subscript achieve] = 0.183(X₁)-0.255(X₄.₂)+0.154(X₄.₅)-0.137(X₁₄)+0.148(X₆)+0.108(X₄.₁) | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.791 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ความสามารถทางคณิตศาสตร์ | en_US |
dc.subject | การตัดสินใจ | en_US |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน | en_US |
dc.subject | Mathematical ability | en_US |
dc.subject | Decision making | en_US |
dc.subject | Academic achievement | en_US |
dc.title | การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาและความสำเร็จในการเรียนของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในโครงการผู้มีความสามารถพิเศษด้านคณิตศาสตร์ ในกรุงเทพมหานคร | en_US |
dc.title.alternative | Study of factors affecting upper secondary school students' decision making in selecting mathematics talented program and learning achievement in Bangkok Metropolis | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | การศึกษาคณิตศาสตร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Aumporn.M@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2007.791 | - |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
teerawit_ti_front.pdf | 1.15 MB | Adobe PDF | View/Open | |
teerawit_ti_ch1.pdf | 1.43 MB | Adobe PDF | View/Open | |
teerawit_ti_ch2.pdf | 12.38 MB | Adobe PDF | View/Open | |
teerawit_ti_ch3.pdf | 532.1 kB | Adobe PDF | View/Open | |
teerawit_ti_ch4.pdf | 3.41 MB | Adobe PDF | View/Open | |
teerawit_ti_ch5.pdf | 1.32 MB | Adobe PDF | View/Open | |
teerawit_ti_back.pdf | 5.97 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.