Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53256
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุเมธ พันธุวงค์ราช-
dc.contributor.advisorมนตรี ชูวงษ์-
dc.contributor.authorณิชา อ้นเอี่ยม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialสุราษฎร์ธานี-
dc.date.accessioned2017-09-08T06:53:32Z-
dc.date.available2017-09-08T06:53:32Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53256-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2558en_US
dc.description.abstractที่ราบสันทรายสลับแอ่งที่ลุ่มต่ำเป็นลักษณะธรณีสัณฐานอย่างหนึ่งที่ เกิดจากการถดถอยของ ระดับน้ำ ทะเลในอดีต โดยลักษณะการสะสมตัวของสันทรายอาจได้รับอิทธิพลจากปัจจัยหลายด้าน เช่น ช่วงเวลา ในการถดถอยของระดับน้ำทะเล ทิศทางของกระแสน้ำและ ปริมาณของตะกอนที่มาสะสมตัว และหากเราทราบ อายุของสันทรายเหล่านี้ก็สามารถที่จะบอกสภาพแวดล้อมการสะสมตัวและการเปลี่ยนแปลงระดับนี้ ทะเลใน ช่วงเวลานัน้ ได้ งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อหาค่าอายุของที่ราบสันทรายสลับกับแอ่งที่ลุ่มต่ำและสันดอน จะงอย บริเวณอำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยใช้วิธีการหาอายุด้วยการกระตุ้นด้วยแสง (Optically stimulated luminescence, OSL) เพื่อนำมาใช้หาอัตราและทิศทางการสะสมตัวของที่ราบสันทรายในอดีต จาก การเก็บข้อมูลภาคสนาม ได้ทำการเก็บตัวอย่างทรายจากที่ราบสันทราย 6 ตัวอย่าง และจากสันดอนจะงอย 6 ตัวอย่าง นำกลับมาหาอายุในห้องปฏิบัติการณ์และวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพของตะกอน รวมทั้งแปล ภาพถ่ายดาวเทียมเพื่อจัดกลุ่มที่ราบสันทรายเป็นหน่วยย่อย ตามทิศทางการวางตัวและระยะห่างของสันทรายแต่ ละสัน ผลการหาค่าอายุ พบว่าอายุของที่ราบสันทรายอยู่ในยุคโฮโลซีน โดยสันทรายบริเวณสันดอนจะงอย มี อายุระหว่าง 230 ± 10 ปี ถึง 1030 ± 60 ปี โดยสันทรายที่อายุน้อยที่สุดอยู่ทางตอนปลายของสันดอน และอายุของ สันทรายบริเวณที่ราบสันทรายสลับแอ่งที่ลุ่มต่ำอยู่ระหว่าง 1,880 ± 140 ปี ถึง 3,590 ± 270 ปี จากการแปล ภาพถ่ายดาวเทียมรายละเอียดสูงสามารถแบ่งพื้น ที่ราบสันทรายโบราณออกได้เป็น 4 หน่วย ได้แก่ A1, A2, A3, A4 โดย A1 อยู่บริเวณสันดอนจะงอย มีทิศทางการวางตัวเฉลี่ยประมาณ 164 องศาจากทิศเหนือ และมีระยะห่าง ของสันทรายเฉลี่ย 31 เมตร A2 มีทิศทางการวางตัวเฉลี่ย 221 องศา มีระยะห่างของสันทรายเฉลี่ย 38 เมตร A3 มีทิศทางการวางตัวเฉลี่ย 143 องศา มีระยะห่างของสันทรายเฉลี่ย 47 เมตร และ A4 มีทิศทางการวางตัวเฉลี่ย 188 องศา มีระยะห่างของสันทรายเฉลี่ย 71 เมตร ส่วนการสะสมตัวของที่ราบสันทราย แบ่งได้ 3 ช่วง คือ ในช่วงแรกสันทรายมีการสะสมตัวไปทางทิศ ตะวันออกเฉียงไปทางใต้เล็กน้อย หลังจากนั้น มีการเปลี่ยนทิศทางการสะสมตัวไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และสุดท้ายจึงเกิดการสะสมตัวของสันดอนจะงอยงอกไปทางทิศใต้ของพื้นที่ศึกษาen_US
dc.description.abstractalternativeStrandplain is a geomorphology of beach ridges and swales on the coastal plain that formed by sea level regression. The deposition of strandplain is affected by several geological features such as sea level change, current directions and the amount of sediment supply. If we know the age of beach ridges then we can determine depositional environment of that certain times. This project aimed to find the ages of beach ridge plain in Amphoe Chaiya, Changwat Surat Thani using Optically Stimulated Luminescence (OSL) method, and use them to calculate the rate of deposition and direction of sedimentation in the past. Twelve sand samples were collected from the beach ridge plain and sand spit in the study area for laboratory analyses. High resolution satellite images were used for the interpretation of geomorphological units and also divided beach ridges plain into subunit using the direction of the ridges and distances between ridges as criteria. The sediment samples from beach ridges are mostly composed of quartz, with minor feldspar and heavy minerals. The grain shape is subangular with medium to high sphericity. The OSL dating ages are as follow, the youngest beach ridge is 230 ± 10 years old and the oldest beach ridge is 3,590 ± 270 years old. From satellite images interpretation, the strandplain can be divided into 4 units; A1, A2, A3 and A4. Beach ridges in A4 unit are deposited before 3,590 years ago, it growth direction is to the southeast. Subsequently, beach ridges at unit A2 and A3 are deposited between 3,590 and 1,880 years ago and developed in the northeastern trend. Lastly, unit A1, the sand spit, then grew into southeastern directionen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectธรณีสัณฐานวิทยาชายฝั่งen_US
dc.subjectชายฝั่ง -- ไทย -- สุราษฎร์ธานีen_US
dc.subjectCoastal geomorphologyen_US
dc.subjectCoasts -- Thailand -- Surat Thanien_US
dc.titleหลักฐานทางธรณีสัณฐานวิทยาชายฝั่งทะเลที่แสดงการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำทะเลในสมัยโฮโลซีน อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานีen_US
dc.title.alternativeCoastal geomorphologic evidences of holocene sea-level change at Amphoe Chaiya, Changwat Surat Thanien_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorphantuwongraj.s@gmail.com-
dc.email.advisormonkeng@hotmail.com-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5532716923.pdf2.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.