Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53372
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจักรพันธ์ สุทธิรัตน์-
dc.contributor.advisorพิษณุพงศ์ กาญจนพยนต์-
dc.contributor.authorอัญญาณี เกษโกวิท-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialชลบุรี-
dc.coverage.spatialระยอง-
dc.date.accessioned2017-09-28T09:10:01Z-
dc.date.available2017-09-28T09:10:01Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/53372-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556en_US
dc.description.abstractพื้นที่ศึกษาอยู่บริเวณจังหวัดชลบุรีและระยอง มีการกระจายตัวของหินแปรยุคพรีแคมเบรียน หิน อัคนียุคไทรแอสซิก ตะกอนยุคควอเทอร์นารี โดยการศึกษาครั้งนี้มุ่งเน้นศึกษาหินแกรนิตในบริเวณดังกล่าว จากการศึกษาลักษณะศิลาวรรณนา หินแกรนิตในบริเวณนี้พบว่า สามารถแบ่งออกได้เป็น 4 กลุ่มคือ หินไบ โอไทต์-มัสโคไวท์ แกรนิต หินไนส์ซิกแกรนิต หินไบโอไทต์-ไบโอไทต์ เอไพลต์ และหินแกรนิตเนื้อดอก จาก การศึกษาพบว่า แร่องค์ประกอบหลักได้แก่ ควอรตซ์ เฟลสปาร์ แพลจิโอเคลส ไบโอไทต์ มัสโคไวท์ และแร่ รองอื่นๆ อะพาไทต์ ลักษณะเนื้อหินสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า (phaneritic texture) ขนาดผลึก ละเอียด (fine-grained) ถึงผลึกหยาบ (coarse-grained) แสดงเนื้อแบบหย่อมหนอน(myrmekitic texture) ของแร่ควอรตซ์ในผลึกแร่เฟลสปาร์ จากการวิเคราะห์ธาตุองค์ประกอบ พบว่าหินทั้ง 4 กลุ่มมีธาตุ องค์ประกอบในปริมาณใกล้เคียงกัน คือ ปริมาณซิลิกา 67-73% ปริมาณอลูมิเนียม 14-15% ปริมาณ โพแทสเซียม 4-5% ปริมาณ โซเดียม 2% ปริมาณเหล็กรวม 0.7-1.7% ปริมาณแคลเซียม 0.7-1.4% ปริมาณแมกนีเซียม 2-0.9% ปริมาณไทเทเนียม 0.2-0.3% จากการจำแนกชนิดและการเกิดโดยใช้ แผนภาพต่างๆพบว่า หินอัคนีในบริเวณที่ศึกษามีองค์ประกอบเป็นหินแกรนิตชนิด S-type ที่เกิดขึ้นจากการ หลอมละบางส่วน (partial melting) ของหินตะกอนเดิมภายในแผ่นจุลทวีป ฉาน-ไทย เนื่องจากความร้อน และความดันที่สูงจากการชนกับแผ่นจุลทวีปอินโดจีนen_US
dc.description.abstractalternativeThe study area is located in Chonburi and Rayong in which is geologically occupied by Precambrian metamorphic rocks, Triassic igneous rocks and Quaternary sediments. Sample collection under this study are grouped, based on petrographic features, into 4 groups including 1)biotite-muscovite granite 2)gneissic granite 3)biotite-muscovite aplite and 4) porphyritic granite. Under polarizing microscope, these rocks consist of quartz, feldspar, plagioclase, biotite muscovite apatite and other accessory minerals. Equigranular and myrmekitic textures are usually observed. Whole-rock geochemical analyses show that most samples contain 67-73% SiO2. 14-15% Al2O3. 4-5% K2O. 2%K2O. Minor compositions including Fe2O3 toatal, MgO, CaO and TiO2 are mostly less than 2%. These chemical composition are related to peraluminous (S-type granite). Tectonic-diagram plots indicate Syn-orogeny process that caused partial melting of magma within continental plate. This process might have occurred during the collision between Shan-Thai and Indochina micro-continents.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectธรณีเคมีen_US
dc.subjectธรณีเคมี -- ไทย -- ชลบุรีen_US
dc.subjectธรณีเคมี -- ไทย -- ระยองen_US
dc.subjectหินแกรนิตen_US
dc.subjectหินแกรนิต -- ไทย -- ชลบุรีen_US
dc.subjectหินแกรนิต -- ไทย -- ระยองen_US
dc.subjectGeochemistryen_US
dc.subjectGeochemistry -- Thailand -- Chon Burien_US
dc.subjectGeochemistry -- Thailand -- Rayongen_US
dc.subjectGraniteen_US
dc.subjectGranite -- Thailand -- Chon Burien_US
dc.subjectGranite -- Thailand -- Rayongen_US
dc.titleศิลาเคมีของกลุ่มหินแกรนิต ในพื้นที่จังหวัด ชลบุรีและระยองen_US
dc.title.alternativePetrochemistry of granitic rocks in Changwat Chonburi and Rayongen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorc.sutthirat@gmail.com-
dc.email.advisorpitsanupong.k@hotmail.com-
dc.email.authorzirimaru_paeng@hotmail.com-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5332738523 อัญญาณี เกษโกวิท.pdf1.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.