Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56016
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุมน อมรวิวัฒน์-
dc.contributor.advisorน้อมศรี เคท-
dc.contributor.authorสายพิณ ทองสว่าง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2017-11-21T03:32:03Z-
dc.date.available2017-11-21T03:32:03Z-
dc.date.issued2531-
dc.identifier.isbn9745687154-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/56016-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2531en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อประเมินกระบวนการฝึกอบรม ประเมินพฤติกรรมในการจัดการเรียนการสอนและพฤติกรรมด้านคุณธรรมของครู ภายหลังการฝึกอบรมตามโครงการปรับปรุงประสิทธิภาพการเรียนการสอนของครูประถมศึกษา เขตการศึกษา 5 รวมทั้งศึกษาพฤติกรรมการเสริมแรงทางบวกของครูภายหลังการฝึกอบรมตามโครงการ ผลการวิจัยพบว่า 1. กระบวนการฝึกอบรมเรื่องที่อยู่ในระดับที่น่าพอใจเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดได้แก่ การเตรียมการฝึกอบรมและพฤติกรรมในขณะดำเนินกิจกรรมของผู้ดำเนินการฝึกอบรม พฤติกรรมของผู้เข้ารับการฝึกอบรมในขณะเข้าร่วมกิจกรรมการศึกษาชุดฝึกอบรม ชมภาพทัศน์ ภาพเลื่อน ความพึงพอใจของผู้เข้ารับการฝึกอบรมที่มีต่อการฝึกอบรม การทดสอบก่อนและหลังการฝึกอบรม ส่วนเรื่องที่อยู่ในระดับที่ไม่น่าพอใจต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนดได้แก่ การจัดทำเอกสารการเตรียมการฝึกอบรม และการดำเนินการฝึกอบรมในด้านต่างๆ ของผู้ดำเนินการฝึกอบรม พฤติกรรมของผู้เข้ารับการฝึกอบรมในขณะเข้าร่วมกิจกรรมแรกพบ กิจกรรมยามเช้า กิจกรรมมาตามนัด กิจกรรมนันทนาการ กิจกรรมอำลา กิจกรรมสร้างเสริมคุณธรรม สรุปและรายงานผลการศึกษาชุดฝึกอบรม ประเมินผลและรายงานผลการฝึกปฏิบัติจากชุดฝึกอบรม 2. พฤติกรรมในการจัดการเรียนการสอนและด้านคุณธรรมของครู อยู่ในระดับที่น่าพอใจเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด และ 3. การเสริมแรงทางบวกของครูพบว่าครูใช้ตัวเสริมแรงทางบวกเพียง 3 ชนิดคือ การใช้แรงเสริมทางสังคมซึ่งครูนำไปใช้มากที่สุด การใช้เบี้ยอรรถกร และการให้ข้อมูลย้อนกลับ ครูในชั้น ป.3 เป็นครูที่ใช้การเสริมแรงทางบวกมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ครูในชั้น ป.1en_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were as follows : 1) to evaluate the process of in service teacher training under the Project of the Improvement of Teaching Learning Efficiency of the Elementary School Teachers, educational region five; 2) to evaluate the teacher’s behaviors in instructional management and moral after the training; and 3) to study the teachers’ behaviors in using positive reinforcement. The finding s were as follows: 1) the training preparation, the facilitators’ behaviors in managing the activities, the trainees’ behaviors while studying the self-instructional materials and viewing videotape and slides, the trainees’ satisfaction toward the training and pre-post testing met the criteria; 2) the provision of materials for training, the facilitators’ management, and the trainees’ behaviors in recreation activities and moral activities, in summarizing and reporting the studies of the self-instructional materials, and in evaluation and reporting the results from practicing as suggested in the self-instructional materials, were lower than the criteria; 3) the trainees’ behaviors in instructional management and moral met the criteria; and 4) the trainees used only 3 types of positive reinforcement consecutively, namely, social reinforcement, giving tokens, and giving feedback. The third grade teachers used positive reinforcement the most, while the next group of teacher was the first grade teachers.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการบริหารโครงการ -- การประเมินen_US
dc.subjectการสอนอย่างมีประสิทธิผลen_US
dc.subjectสัมฤทธิผลของครูen_US
dc.subjectครู -- การฝึกอบรมในงาน -- การประเมินen_US
dc.subjectครูประถมศึกษา -- การฝึกอบรมในงาน -- การประเมินen_US
dc.subjectProject management -- Evaluationen_US
dc.subjectEffective teachingen_US
dc.subjectTeacher effectivenessen_US
dc.subjectTeachers -- In-service training -- Evaluationen_US
dc.subjectElementary school teachers -- In-service training -- Evaluationen_US
dc.titleการประเมินการฝึกอบรมครูตาม โครงการปรับปรุงประสิทธิภาพการเรียนการสอน ของครูประถมศึกษา เขตการศึกษา 5en_US
dc.title.alternativeAn evaluation of inservice teacher training under the project of the improvement of teaching learning efficiency of the elementary school teachers, educational region fiveen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineประถมศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Saipin_th_front.pdf1.92 MBAdobe PDFView/Open
Saipin_th_ch1.pdf1.95 MBAdobe PDFView/Open
Saipin_th_ch2.pdf9.14 MBAdobe PDFView/Open
Saipin_th_ch3.pdf4.5 MBAdobe PDFView/Open
Saipin_th_ch4.pdf14.48 MBAdobe PDFView/Open
Saipin_th_back.pdf9.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.