Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57982
Title: | Catalytic Activity of Cu-CeO2ZrO2 for Biodiesel Production |
Other Titles: | ความว่องไวในการเกิดปฏิกิริยของคอปเปอร์ซีเรียและเซอร์โคเนียสำหรับกระบวนการผลิตไบโอดีเซล |
Authors: | Wasupon Wongvitvichot |
Advisors: | Sujitra Wongkasemjit Apanee Luengnaruemitchai Thanyalak Chaisuwan |
Other author: | Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College |
Advisor's Email: | dsujitra@chula.ac.th Apanee.L@Chula.ac.th Thanyalak.C@Chula.ac.th |
Subjects: | Biodiesel fuels industry Catalysts Cerium oxides Zirconium Esterification อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงไบโอดีเซล ตัวเร่งปฏิกิริยา ซีเรียมออกไซด์ เซอร์โคเนียม เอสเทอริฟิเคชัน |
Issue Date: | 2017 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | CeO2-ZrO2 was synthesized by co-precipitation (CZ copre) and nanocasting (MSP CZ) methods for supporting 9%wt Cu catalyst loaded by deposition-precipitation (DP) method (CuCZ copre and Cu-MSP CZ, respectively). Both CuCZ copre and Cu-MSP CZ were used in esterification reaction for biodiesel production. Structure and specific surface area of the synthesized supports and catalysts were characterized by XRD and BET tecnhiques. It was found that the specific surface area of CZ copre was less than MSP CZ support. The XRD result of CuCZ copre exhibited the diffraction peak of CuO, indicating the agglomeration of Cu species on support while that of Cu-MSP CZ showed no diffraction peaks of any Cu species, indicating that Cu was well dispersed on the MSP CZ support. Both CuCZ copre and Cu-MSP CZ were treated with sulfuric acid to test their catalytic activity using oleic acid and methanol as starting materials by microwave heating. The optimal conditions obtained were following: 2.0 M sulfuric acid, 5 wt% catalyst, and 12:1 methanol:oleic acid molar ratio at 60 °C for 1h. |
Other Abstract: | สารออกไซด์ผสมของซีเรียเซอโคเนียถูกสังเคราะห์ด้วยวิธีการตกตะกอนร่วมและวิธีการใช้แม่พิมพ์ขนาดนาโนเมตรเพื่อใช้เป็นตัวรองรับตัวเร่งปฏิกิริยาคอปเปอร์ปริมาณ 9 เปอร์เซ็นต่อน้ำหนักด้วยวิธีการฝังและตกตะกอน เพื่อนำไปเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชันสำหรับการผลิตไบโอดีเซล โครงสร้างและพื้นที่จำเพาะของทั้งตัวรองรับและคอปเปอร์บนตัวรองรับถูกพิสูจน์เอกลักษณ์ด้วยเทคนิคการวิเคราะห์องค์ประกอบสารด้วยเทคนิคการเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์ และเทคนิคการหาพื้นที่ผิวจำเพาะและขนาดของรูพรุน ตัวรองรับซีเรียเซอโคเนียที่สังเคราะห์ด้วยวิธีการตกตะกอนร่วมมีพื้นที่จำเพาะผิวน้อยกว่าตัวรองรับซีเรียเซอโคเนียที่สังเคราะห์ด้วยวิธีการใช้แม่พิมพ์ขนาดนาโนเมตร จากการทดสอบด้วยเทคนิคการวิเคราะห์องค์ประกอบสารด้วยเทคนิคการเลี้ยวเบนของรังสีเอ็กซ์ ตัวเร่งปฏิกิริยาคอปเปอร์ที่อยู่บนตัวรองรับที่เกิดจากการสังเคราะห์ด้วยวิธีการตกตะกอนร่วม แสดงเอกลักษณ์ของผลึกคอปเปอร์ ซึ่งเกิดจากการรวมกันของผลึกคอปเปอร์ ในขณะที่ตัวเร่งปฏิกิริยาคอปเปอร์ที่อยู่บนตัวรองรับที่สังเคราะห์ด้วยวิธีการใช้แม่พิมพ์ขนาดนาโนเมตรไม่พบเอกลักษณ์ดังกล่าวของกลุ่มก้อนของผลึกคอปเปอร์ แสดงให้เห็นถึงการกระจายตัวของคอปเปอร์ที่ดี เมื่อเติมตัวเร่งปฏิกิริยาร่วมด้วยกรดซัลฟิวริกเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของตัวเร่งปฏิกิริยาในการสังเคราะห์ไบโอดีเซลในระบบการให้ความร้อนด้วยรังสีไมโครเวฟ โดยมีกรดโอเลอิกและเมทานอลเป็นสารตั้งต้น จากการทดลองพบว่า สภาวะที่ดีที่สุดในการเกิดปฏิกิริยาเอสเทอริฟิเคชั่นเพื่อผลิตไบโอดีเซลคือ การใช้ความเข้มข้นของกรดซัลฟิวริก 2 โมลาร์ น้ำหนักตัวเร่งปฏิกิริยาที่ 5 เปอร์เซ็นโดยน้ำหนัก อัตราส่วนโดยโมลของเมทานอลและโอเลอิกที่ 12 ต่อ 1 ที่อุณภหภูมิ 60 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1 ชั่วโมง |
Description: | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2017 |
Degree Name: | Master of Science |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Polymer Science |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/57982 |
URI: | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.458 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.58837/CHULA.THE.2017.458 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Petro - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5872027063_Wasupon Wo.pdf | 1.14 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.