Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58425
Title: | ผลของความถี่ และจังหวะของดนตรีพื้นหลังต่อการรับรู้การผ่านไปของเวลา |
Other Titles: | The effect of pitch and tempo of background music on the perception of time progression |
Authors: | ปวีย์ เพชรรักษ์ |
Advisors: | ภูริพันธุ์ รุจิขจร |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี |
Advisor's Email: | Puripant.R@Chula.ac.th,puripant@gmail.com,puripant@cbs.chula.ac.th |
Subjects: | ดนตรี เสียงดนตรี ซอฟต์แวร์ -- การพัฒนา Music Music -- Acoustic and physics Computer software -- Development |
Issue Date: | 2560 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ต่างไม่ชอบการรอคอยที่ต้องใช้เวลานาน เสียงดนตรีสามารถเข้ามาช่วยทำผู้ใช้รู้สึกใช้เวลารอคอยสั้นกว่าเดิม โดยการศึกษานี้นำเสียงมาใช้ร่วมกับแถบแสดงความก้าวหน้ามุ่งศึกษาไปที่เรื่องของความถี่และจังหวะของดนตรีพื้นหลัง การศึกษานี้ประกอบด้วยการทดลองสองการทดลอง โดยการทดลองแรกเป็นการประเมินเวลา และในการทดลองที่สอง เป็นการเปรียบเทียบการรับรู้ถึงระยะเวลาในการรอคอย การทดลองทั้งสองแสดงให้เห็นว่าเสียงดนตรีทำให้การรับรู้การผ่านไปของเวลาแตกต่างกันเมื่อทำการเปรียบเทียบ เช่น เสียงดนตรีทำให้คนรู้สึกว่ารอคอยสั้นกว่าการไม่ใช้เสียงอะไรเลย เป็นต้น นอกจากนั้นแสดงให้เห็นว่าการนำความถี่และจังหวะของเสียงมาช่วยในการออกแบบเสียงดนตรีมีผลต่อการรับรู้การผ่านไปของเวลาแตกต่างกันหลายระดับ |
Other Abstract: | Computer users do not like waiting for a long time and music can be used to make the user perceive shorter waiting time. This research studies different sound frequencies and tempos of background music played simultaneously with a progress bar, a common user interface to indicate time progression. This research has two experiments to measure time evaluation and time comparison. They reveal that music has a comparative effect on time progression i.e. background music makes a temporal delay seemingly faster than a silent delay. A further analysis shows how the combinations of different acoustic frequencies and tempos have varied degrees of the aforementioned effect. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2560 |
Degree Name: | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | การพัฒนาซอฟต์แวร์ด้านธุรกิจ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/58425 |
URI: | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2017.696 |
DOI: | 10.58837/CHULA.THE.2017.696 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Acctn - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5881542226.pdf | 3.07 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.