Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61680
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อัคนีวุธ ชะบางบอน | - |
dc.contributor.advisor | สันติ ภัยหลบลี้ | - |
dc.contributor.author | ณฐนันท์ ช่อหิรัญกุล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2019-05-01T02:32:49Z | - |
dc.date.available | 2019-05-01T02:32:49Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/61680 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560 | en_US |
dc.description.abstract | จากเหตุการณ์ภัยพิบัติที่เกิดขึ้นบนโลก เหตุการณ์อุกกาบาตพุ่งชนโลก (meteorite impact) นับว่า เป็นภัยพิบัติที่รุนแรงที่สุดเพราะส่งผลกระทบถึงการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ของสิ่งมีชีวิตบนโลก ทั้งนี้ในปัจจุบัน โอกาสที่อุกกาบาตจะพุ่งชนโลกค่อนข้างต่ำดังนั้นเหตุการณ์อุกกาบาตพุ่งชนโลกจึงกลายเป็นเรื่องไกลตัว สำหรับการดำเนินชีวิตของมนุษย์ อย่างไรก็ตามงานวิจัยในอดีตค้นพบว่าการเกิดอุกกาบาตพุ่งชนโลก เชื่อมโยงกับการสูญพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตบนโลก โดยนักวิจัยได้กล่าวอธิบายไว้ว่าการพุ่งชนโลกของก้อน อุกกาบาตเป็นสาเหตุให้เกิดขี้เถ้าและฝุ่นควันต่าง ๆ ปริมาณหลายตันฟุ้งและลอยขึ้นสู่บรรยากาศปกคลุม แสงอาทิตย์ที่จะเดินทางมายังผิวโลก ทำให้พืชไม่สามารถเจริญเติบโตได้ส่งผลให้สัตว์กินพืชตายลงอย่าง รวดเร็วเนื่องจากขาดอาหาร หลังจากเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวโลกได้มีกระบวนการธรณีแปรสัณฐาน (tectonic) โดยเกิดกระบวนการจมตัวของแผ่นเปลือกโลกเก่าและการสร้างผิวเปลือกโลกขึ้นมาใหม่ การ เปลี่ยนแปลงนี้ทำให้นักวิทยาศาสตร์ไม่สามารถใช้ข้อมูลหลุมอุกกาบาตที่หลงเหลืออยู่ศึกษาการกระจายตัว เชิงความถี่และขนาดของหลุมอุกกาบาตที่พุ่งชนโลกทั้งหมดได้ จึงเป็นที่มาของงานวิจัยนี้คือศึกษาการ กระจายตัวเชิงความถี่และขนาดของหลุมอุกกาบาตของดาวอังคารซึ่งเป็นดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้กับโลกและ ใกล้เคียงกับแถบดาวเคราะห์น้อย (asteroid belt) เพื่อเปรียบเทียบเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นบนโลก โดยใน งานวิจัยนี้ได้ศึกษาค่าตกกระทบของอุกกาบาตบนดาวอังคารเปรียบเทียบกับเหตุการณ์ที่เกิดบนดวงจันทร์ซึ่ง สัมพันธ์กับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นบนโลก โดยใช้ข้อมูลหลุมอุกกาบาตจากฐานข้อมูลขององค์กร NASA ทั้งสิ้น 384,343 เหตุการณ์ เพื่อประเมินพฤติกรรมการพุ่งชนของอุกกาบาต โดยขั้นตอนการประเมินประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลัก คือ 1) การประเมินขนาดหลุมอุกกาบาตที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่จะสามารถเกิดขึ้นได้ 2) การ ประเมินคาบอุบัติซ้ำของการเกิดอุกกาบาตขนาดต่าง ๆ และ 3) การประเมินความน่าจะเป็นของการเกิดหลุม อุกกาบาตขนาดต่าง ๆ ณ ความถี่ระดับต่าง ๆ จากผลการประเมินบ่งชี้ว่าพื้นที่ทั้งหมดของดาวอังคารไม่ได้ ถูกอุกกาบาตชนแบบสุ่ม (random) หรือกระจายไปทั่วทุกพื้นที่ แต่มีความแตกต่างของความถี่และขนาด ของหลุมอุกกาบาตที่ตกกระทบในแต่ละพื้นที่ของดาวอังคาร อีกทั้งการตกกระทบของอุกกาบาตขนาดเล็กถึง ปานกลางบนดาวอังคารมีความถี่สะสมมากกว่าการตกกระทบบนดวงจันทร์ซึ่งสัมพันธ์กับวงโคจรของดาว อังคารคือมีวงโคจรใกล้กับแถบดาวเคราะห์น้อย แต่กลับกันการตกกระทบของอุกกาบาตขนาดใหญ่บนดวง จันทร์มีความถี่สะสมมากกว่าการตกกระทบบนดาวอังคารซึ่งเกิดจากลักษณะวงโคจรของดวงจันทร์และดาว อังคาร | en_US |
dc.description.abstractalternative | Meteorite impact is one of the natural catastrophes. Although critical impacts are not common, they can cause evolution of life on Earth. The previous studies have found that when large meteoroids entering our atmosphere with very high average velocity, the events do serious damages to the world; consequently, dust from such events disturbs the environment of our entire planet and causes an ecological disaster such as mass extinction of the Cretaceous period. The previous works have found that it comes from the collision of meteorites which causes ash and dust for tons of to the atmosphere that make the sky dark for at least several months and when the sun is lacking, the organism will die rapidly. Therefore, meteorite impact events can be linked to extinction events in the earth. However, the Earth has some activity to change and develop gradually itself, it is called Tectonic. It is the process that evolves over time to adjust the structure and properties of the Earth’s crust. Because of this process, most scientists cannot find out evidence relating to frequency-size distribution of meteorite craters on the Earth to describe past occurrences. Therefore, this research aimed to study frequency-size distribution of the craters on Mars or Red planet which is quite similar to our planet and is located close to the asteroid belt. In addition, the objective was also to study the frequency-size distribution on the Moon which represents the Earth, then compared the results with past events on the Earth. In addition, the concept of frequency-magnitude distribution model with 384,343 events from NASA’s record were applied to investigate characteristics of meteorite collision. Three terms to evaluate the characteristics were i) possible maximum crater size in the recognize time span, ii) average time of meteorite impact in each scale, and iii) probability of crater occurrences. The results revealed the meteorite crater on Mars are heterogeneity excluding random phenomena as any natural event. Moreover, Mars has higher frequency of the impact of small to medium meteorites when comparing to the Moon. In contrast, Mars has lower frequency of the impact of large meteorites; as a result of the differences of orbit of Mars and the Moon. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | อุกกาบาต | en_US |
dc.subject | หลุมอุกกาบาต | en_US |
dc.subject | ดาวอังคาร | en_US |
dc.subject | Meteorites | en_US |
dc.subject | Meteorite craters | en_US |
dc.subject | Mars (Planet) | en_US |
dc.title | การกระจายตัวเชิงความถี่ของขนาดหลุมอุกกาบาตบนดาวอังคาร | en_US |
dc.title.alternative | Frequency-size distribution of the craters on mars | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | Akkaneewut.C@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Santi.Pa@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Senior_project_Nathanan Chorhirankul.pdf | 1.95 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.