Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70150
Title: | The socio-economic impact of IUU-fishing : the case of EU give yellow card to Thailand |
Other Titles: | ผลกระทบทางสังคมและเศรษฐกิจของการประมงแบบผิดกฎหมาย: กรณีของสหภาพยุโรปมอบบัตรเหลืองให้ประเทศไทย |
Authors: | Chaniga Dharmasaroja |
Advisors: | Sakda Thanitcul |
Other author: | Chulalongkorn University. Graduate School |
Advisor's Email: | Sakda.T@Chula.ac.th |
Subjects: | European Union Fishery management Marine resources -- Management สหภาพยุโรป การจัดการประมง ทรัพยากรทะเล -- การจัดการ |
Issue Date: | 2019 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | Marine resources are a very important resource for global existence. If there is no organized management, it can damage the marine resources. Therefore, the European Union considers Illegal, Unregulated and Unreported (IUU) Fishing, which is a fishery that obstructs Violation or destruction of conservation measures in any fishing area And non-compliance with the requirements for fishery data collection, as well as not reporting fishery and fishery or false data reporting to responsible agencies From illegal fishing, the IUU may cause future marine resources to be depleted. However, Thailand has a large export value to the European Union. But Thailand is illegal fishing, so the IUU gives the European Union a yellow card or a list of offenders. Resulting in Thailand being greatly affected and if Thailand does not improve or modify the administration of Thai fisheries to be legally prohibited, it will be banned from exporting marine resources and will adversely affect Thai society and the economy as followed Thailand must have the cooperation of the government and the prime minister in improving and modifying Thai fisheries to be accepted, such as changing the law. And penalties to be appropriate and establishing regulations regarding the installation of ships so as not to cause them to go out of the way, etc. Once Thailand has solved the above problems, it will be able to make the sea waters of Thailand sustainable as well. |
Other Abstract: | ทรัพยากรทางทะเลเป็นทรัพยากรที่สำคัญอย่างมากต่อการดำรงอยู่ของโลก ซึ่งหากไม่มีการจัดการทีเป็นระเบียบก็จะสร้างความเสียหายให้กับทรัพยากรทางทะเลได้ ดังนั้นสหภาพยุโรปได้มองว่าการทำประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม หรือ Illegal, Unregulated and Unreported (IUU) Fishing ซึ่งคือ การทำการประมงที่ขัดขวาง ละเมิดหรือทำลายมาตรการอนุรักษ์จัดการในพื้นที่ประมงใดๆ และการไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดในการเก็บรวบรวมข้อมูลการประมงตลอดจนไม่รายงานข้อมูลเกี่ยวกับเรือทำการประมงและการทำประมงหรือรายงงานข้อมูลอันเป็นเท็จแก่หน่วยงานที่รับผิดชอบ จากการทำประมงผิดกฎหมาย IUU อาจทำให้ทรัพยากรทางทะเลในอนาคตอาจจะหมดไป ทั้งนี้ประเทศไทยมีมูลค่าการส่งออกไปสหภาพยุโรปเป็นรายใหญ่ แต่ประเทศไทยกลับทำประมงผิดกฎหมาย IUU จึงทำให้สหภาพยุโรปให้ใบเหลืองหรือการขึ้นบัญชีรายชื่อผู้กระทำผิด ส่งผลให้ประเทศไทยได้รับผลกระทบอย่างมากและถ้าประเทศไทยไม่ทำการปรับปรุงหรือปรับเปลี่ยนการบริหารการประมงไทยให้ถูกต้องตามกฎหมายก็จะถูกสั่งห้ามในการส่งออกทรัพยากรทางทะเลไป และจะส่งผลเสียต่อสังคมและเศรษฐกิจของไทยตามกันมา ซึ่งประเทศไทยจะต้องได้รับความร่วมมือจากภาครัฐและภาคเอกขนในการปรับปรุงและแก้ไขการประมงของไทยให้เป็นที่ยอมรับ อาทิ การปรับเปลี่ยนกฎหมาย และบทลงโทษให้มีความเหมาะสม และออกกฎระเบียบเรื่องการติดตั้งเรือเพื่อไม่ให้เกิดการออกนอกลู่ทาง เป็นต้น ทั้งนี้เมื่อประเทศไทยได้แก้ไขปัญหาดังกล่าวจะสามารถทำให้ทะเลน่านน้ำของประเทศไทยมีความยั่งยืนอีกด้วย |
Description: | Independent Study (M.A.)--Chulalongkorn University, 2019 |
Degree Name: | Master of Arts |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | European Studies |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/70150 |
URI: | http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2019.35 |
DOI: | 10.58837/CHULA.IS.2019.35 |
Type: | Independent Study |
Appears in Collections: | Grad - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6284010220.pdf | 1.26 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.