Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72540
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมชาย เอี่ยมอ่อง | - |
dc.contributor.advisor | เกียรติ รักษ์รุ่งธรรม | - |
dc.contributor.author | สญชัย จันทร์ศรีตระกูล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2021-03-03T07:09:51Z | - |
dc.date.available | 2021-03-03T07:09:51Z | - |
dc.date.issued | 2541 | - |
dc.identifier.isbn | 9743317716 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/72540 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541 | en_US |
dc.description.abstract | ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังเป็นผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่องกลุ่มหนึ่ง ส่วนใหญ่เสียชีวิตจากการติดเชื้อ (ร้อยละ 15) เป็นสาเหตุที่สำคัญรองลงมาจากภาวะแทรกซ้อนทางหัวใจและหลอดเลือด (ร้อยละ 50) มีหลักฐานหลายอย่างที่ สนับสนุนว่าผู้ป่วยมีความผิดปกติของภูมิคุ้มกันที่เกี่ยวข้องกับ T cell (CMIR) ได้แก่ พบอุบัติการติดเชื้อไวรัส เชื้อรา วัณโรคและมะเร็งสูงขึ้น มีจำนวนของ lymphocyte, helper และ suppressor T cell ลดลงและ T cell สร้าง interleukin-2, interferon-y ลดลง งานวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาเปรียบเทียบภูมิคุ้มกันชนิดอาศัยเซลล์ ก่อนและหลังการรักษาด้วยการล้างไตผ่านทางหน้าท้อง (CAPD) นาน 6 เดือนในผู้ป่วยไตวายรื้อรัง ผู้ป่วยทั้งหมด 16 คน ได้รับการตรวจเลือดเพื่อหาค่า T cell subset, lymphocyte response to phytohemagglutinin (PHA) stimulation test และ delayed hypersensitivity skin test เมื่อเริ่มการศึกษา และทำการตรวจทุกอย่างซ้ำอีก 6 เดือนต่อมา พร้อมประเมินการติดเชื้อที่เกิดขึ้นด้วย ผลการศึกษาพบว่าจำนวนและร้อยละของ lymphocyte ทั้งหมด มีค่าเพิ่มขึ้นหลังรักษานาน 6 เดือน (1268 เทียบกับ 1709 cell/mm3, p<0.01 และ 17.3 เทียบกับ 24.3%, p<0.01) จำนวนและร้อยละของ helper T cell (CD4) มีค่าเพิ่มขึ้นหลังรักษานาน 6 เดือน (415 เทียบกับ 606 cell/mm3, p<0.01 และ 34.5 เทียบกับ 38%, p<0.01) จำนวนของ suppressor T cell (CD8) มีค่าเพิ่มขึ้นหลังรักษานาน 6 เดือน (317 เทียบกับ 412 cell/mm3, p<0.01) แต่ค่าร้อยละของ CD8 ลดลงหลังการรักษา (29 เทียบกับ 24%, p<0.05) ค่าอัตราส่วน CD4 : CD8 มีค่าเพิ่มขึ้นหลังรักษานาน 6 เดือน (1.2 เทียบกับ 1.6, p<0.01) ผลการศึกษา PHA stimulation test ทั้งก่อนและ หลังการรักษาไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ที่น่าสนใจดือ ผลของ multi CMI skin test มีค่าบวกเพิ่มขึ้นหลัง รักษานาน 6 เดือน (p=0.001) มีผู้ป่วยติดเชื้อแบคทีเรียที่ exit site 2 คน และ peritonitis 2 คน โดยสรุป ผู้ป่วยไตวายรื้อรังหลังรักษาด้วยการทำ CAPD นาน 6 เดือน สามารถทำให้จำนวนและ ร้อยละของ lymphocyte ทั้งหมด, CD4, CD8 และอัตราส่วนของ CD4 ต่อ CD8 T cell เพิ่มขึ้นได้อย่างมีนัยสำคัญ ผลทดสอบ multi CMI skin test ต่อ recall antigen มีค่าบวกเพิ่มขึ้นได้อย่างมีนัยสำคัญ แม้ว่าค่า PHA stimulation test ไม่มีการเปลี่ยนแปลงหลังการรักษา ทั้งนี้ไม่พบการติดเชื้อที่เกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกันชนิด CMIR ในการศึกษาครั้งนี้ | - |
dc.description.abstractalternative | Uremic patient is an immunocompromised host. The causes of death are mostly from cardiac disease (50%) and infectious disease is the secondary cause of death (15%). Several evidences indicated that the immune system in uremic patients is compromised. Cutaneous anergy and the increase risk of viral hepatitis, fungal infection, tuberculosis, malignancy and decreased total T-lymphocyte count, helper, suppressor T-cell and decreased production of interleukin-2, interferon- γ in uremic patients suggest that their cell-mediated immunity (CMI) is predominantly impaired. Uremic toxin, middle molecular weight molecule (MMWM) in particular, has been shown to inhibit mitogen-induced T cell proliferation, mixed leukocyte culture and graft versus host reaction. The present study investigated the role of continuous ambulatory peritoneal dialysis (CAPD), which can remove MMWM uremic toxin, on CMI in treated uremic patients. Sixteen uremic patients without immunosuppressive therapy were enrolled and subjected for CAPD. The patients were received adequate dialysis and nutrition which will effect T cell function. Multi-CMI skin test, the total lymphocyte count, T cell subsets (CD4, CD8), phytohemagglutinin (PHA) induced lymphoproliférative assays and clinical outcome were evaluated at baseline and at six months after CAPD treatment. The median of number and percentage of total lymphocyte count, CD4, CD8 and CD4 / CD8 ratio were significantly lower in uremic patients than in normal population, but progressively increased after CAPD treatment (1268 vs. 1709 cell/mm3, p<0.01 and 17.3 vs. 24.3%, p<0.01, 415 vs. 606 cell/mm3, p<0.01 and 34.5 vs. 38%, p<0.01, 317 vs. 412 cell/mm3, p<0.01 and 29 vs. 24%, p<0.05, 1.2 vs. 1.6, p <0.01, respectively). There was no change in lymphocyte response to PHA stimulation test after CAPD treatment. Of note, the positive multi CMI skin tests were found in 2 of 16 patients tested (13%) at baseline and it was increased to 13 of 15 patients tested (87%) at six months (p=0.001). Two patients had Staphylococcus aureus induced peritonitis and two patients had bacterial induced exit site infection. No infection that related to T cell deficiency was observed. In conclusion, the beneficial effects of CAPD on immune impairment of uremic patients were demonstrated by the progressive improvement in number and percentage of total lymphocyte count, CD4, CD8, CD4 / CD8 ratio and positive multi CMI skin test to the recall antigens. However, there was no significant change in PHA induced lymphoproliférative response. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.1998.145 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ไตวายเรื้อรัง -- ผู้ป่วย | en_US |
dc.subject | การติดเชื้อ | en_US |
dc.subject | การตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน | en_US |
dc.subject | การล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง | en_US |
dc.subject | ภูมิคุ้มกันด้านเซลล์ | en_US |
dc.subject | Chronic renal failure -- Patients | en_US |
dc.subject | Infection | en_US |
dc.subject | Immune response | en_US |
dc.subject | Continuous ambulatory peritoneal dialysis | en_US |
dc.subject | Cellular immunity | en_US |
dc.title | ภูมิคุ้มกันชนิดอาศัยเซลล์ก่อนและหลังการรักษาด้วยการล้าง-ไตผ่านทางหน้าท้องนาน 6 เดือน ในผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง | en_US |
dc.title.alternative | Cell-mediated immunity in uremic patients prior to and after 6 months' treatment with continuous ambulatory peritoneal dialysis | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | อายุรศาสตร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Somchai.E@chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Kiat.R@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.1998.145 | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sonchai_ch_front_p.pdf | หน้าปก และบทคัดย่อ | 911.33 kB | Adobe PDF | View/Open |
Sonchai_ch_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 699.3 kB | Adobe PDF | View/Open |
Sonchai_ch_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 1.89 MB | Adobe PDF | View/Open |
Sonchai_ch_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 996.37 kB | Adobe PDF | View/Open |
Sonchai_ch_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 1.7 MB | Adobe PDF | View/Open |
Sonchai_ch_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 901.18 kB | Adobe PDF | View/Open |
Sonchai_ch_back_p.pdf | บรรณานุกรม และภาคผนวก | 986.13 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.