Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75271
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สำเรียง เมฆเกรียงไกร | - |
dc.contributor.author | จันทรรัตน์ รัชชพงศ์รักษ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2021-08-27T07:30:44Z | - |
dc.date.available | 2021-08-27T07:30:44Z | - |
dc.date.issued | 2562 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/75271 | - |
dc.description | เอกัตศึกษา (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562 | en_US |
dc.description.abstract | ภายใต้แนวคิด Thailand 4.0 ที่มีนโยบายให้ประเทศไทยมีรูปแบบเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วย นวัตกรรม และเทคโนโลยีมากยิ่งขึ้น ซึ่งประเทศไทยกําลังผลักดันให้เกิดกลุ่มธุรกิจวิสาหกิจเริ่มต้น (สตาร์ทอัพ) มากยิ่งขึ้น เนื่องจากธุรกิจวิสาหกิจเริ่มต้น (สตาร์ทอัพ) ในระยะแรกมักขาดเงินทุนและ แผนธุรกิจที่แข็งแกร่งจึงไม่สามารถเติบโตได้ในระยะยาว การกู้ยืมเงินจากแหล่งสถาบันการเงินอาจไม่ สามารถทําได้เนื่องจากในช่วงแรกบริษัทอาจยังไม่มีสินทรัพย์เพียงพอต่อการขอสินเชื่อ ผู้ประกอบการ จึงเลือกพึ่งพาแหล่งเงินทุนในรูปแบบขององค์กร และนักลงทุนอิสระซึ่งเป็นทางเลือกที่ผู้ประกอบการ พอจะสามารถทําได้ และถึงแม้ปัจจุบันในประเทศไทยจะมีมาตรการ นโยบายส่งเสริมสนับสนุนเพื่อ ช่วยเหลือผู้ประกอบการธุรกิจวิสาหกิจเริ่มต้น(สตาร์ทอัพ) ในการระดมเงินทุนแก่ธุรกิจแต่มาตรการ และนโยบายดังกล่าวกลับกําหนดคุณสมบัติหรือเงื่อนไขบางประการที่เป็นผลให้นักลงทุนและ ผู้ประกอบการไม่สามารถเข้าถึงสิทธิประโยชน์จากมาตรการสนับสนุนการระดมเงินทุน ในขณะที่ประเทศสิงคโปร์มีมาตรการ และนโยบายส่งเสริมสนับสนุนธุรกิจวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อมที่จดทะเบียนภายใต้กฎหมายบริษัทของสิงคโปร์ เพื่อสร้างความยืดหยุ่นและ ทางเลือกให้แก่ผู้ประกอบธุรกิจวิสาหกิจเริ่มต้น(สตาร์ทอัพ) และผู้ลงทุน นํามาซึ่งความคล่องตัวให้แก่ ผู้ประกอบการในการระดมทุน โดยเฉพาะเป็นผลให้ธุรกิจสามารถพัฒนาและเติบโตได้ในระยะยาว ดังนั้น การส่งเสริมการระดมทุนของผู้ประกอบธุรกิจวิสาหกิจเริ่มต้น(สตาร์ทอัพ) ควรมีการปรับลด มาตรการ นโยบาย และหลักเกณฑ์เพื่อสร้างทางเลือกในการระดมทุนของธุรกิจวิสาหกิจเริ่มต้น (สตาร์ทอัพ) และนักลงทุนโดยการนําหลักเกณฑ์กฎหมายบริษัทของประเทศสิงคโปร์มาปรับใช้และให้ ภาครัฐจัดตั้งนโยบายและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสนับสนุนให้แก่ผู้ประกอบธุรกิจวิสาหกิจเริ่มต้น(สตาร์ท อัพ) ไทยอย่างแท้จริง | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.58837/CHULA.IS.2019.128 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | ธุรกิจขนาดย่อม -- ความช่วยเหลือของรัฐ | en_US |
dc.subject | การลงทุนและส่งเสริมการลงทุน | en_US |
dc.title | มาตรการสนับสนุนการระดมทุนของธุรกิจวิสาหกิจเริ่มต้นในประเทศไทย(สตาร์ทอัพ) | en_US |
dc.type | Independent Study | en_US |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | กฎหมายเศรษฐกิจ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.subject.keyword | ธุรกิจวิสาหกิจ | en_US |
dc.subject.keyword | นโยบายส่งเสริมธุรกิจ | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.58837/CHULA.IS.2019.128 | - |
Appears in Collections: | Law - Independent Studies |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6186154034.pdf | 1.55 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.