Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78264
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อมราวรรณ อินทศิริ | - |
dc.contributor.author | กรญาณ์ อัครประเสริฐกิจ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2022-03-15T09:05:04Z | - |
dc.date.available | 2022-03-15T09:05:04Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/78264 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดูดซับแฟตตี้แอลกอฮอล์อีทอกซีเลตบนเมโซพอรัสซิลิกา เตรียมซิลิกาโดยใช้เททระเอทอกซี่ไซเลน (TEOS) เป็นสารตั้งต้น และเซทิลไตรเมทิลแอมโมเนียมโบรไมด์ (CTAB) เป็นสารต้นแบบ จากนั้นจึงนำซิลิกาที่สังเคราะห์ได้ไปเผาที่อุณหภูมิสูง เพื่อกำจัดสารอินทรีย์ทั้งหมด ออกจากซิลิกา สำหรับการตรวจสอบสมบัติในการดูดซับสารลดแรงตึงผิวของเมโซพอรัสซิลิกาใช้วิธีการแบบ แบทช์ในการทดลองเรื่องการดูดซับ โดยเปลี่ยนแปลงความเข้มข้นเริ่มต้นของสารละลายสารลดแรงตึงผิวที่ค่า ต่าง ๆ จากนั้นตรวจสอบไอโซเทอมของการดูดซับ ผลที่ได้แสดงให้เห็นถึงความเข้ากันได้ที่ดีกว่ากับไอโซเทอม แบบแลงเมียร์ ค่าความสามารถในการดูดซับสูงสุดของซิลิกาคือ 769.23 mg/g และค่าคงที่สมดุลการดูดซับ คือ 5.62 × 10-⁴ L/mg งานวิจัยนี้บ่งบอกถึงการประยุกต์ที่ดีของเมโซพอรัสซิลิกากับการดูดซับสารลดแรงตึง ผิวชนิดไม่มีประจุ | en_US |
dc.description.abstractalternative | This project aims at studying the adsorption of fatty alcohol ethoxylates onto mesoporous silica. The material was prepared using tetraethoxylane (TEOS) as a precursor and cetyltrimethylammonium bromide (CTAB) as a template. The as-synthesized silica was then calcined at high temperature to remove all of the organic matters in silica. The surfactant adsorption properties of the mesoporous silica were investigated using batch method by varying the initial concentration of surfactant solution. The adsorption isotherm was then determined. The results showed better fit to the Langmuir isotherm. The maximum adsorption capacity of silica was 769.23 mg/g and the adsorption equilibrium constant was 5.62 x 10⁴ L/mg. This research suggests a promising application of mesoporous silica in nonionic surfactant sorption. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | สารลดแรงตึงผิว | - |
dc.subject | ซิลิกา | - |
dc.subject | Surface active agents | - |
dc.subject | Silica | - |
dc.title | การสกัดสารลดแรงตึงผิว dehydol LS7 ด้วยเมโซพอรัสซิลิกา | en_US |
dc.title.alternative | Extraction of dehydol LS7 by mesoporous silica | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Amarawan.I@Chula.ac.th,amarawan@gmail.com | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Koraya Ak_SE_2560.pdf | 8.97 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.