Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80820
Title: | การประยุกต์ใช้การเรียนรู้ด้วยเครื่องเพื่อตรวจจับงานเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการทดสอบฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ |
Other Titles: | Applying machine learning techniques to detect failure in hard disk drive test process |
Authors: | อรุณี ศรีดี |
Advisors: | ประภาส จงสถิตย์วัฒนา |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
Issue Date: | 2564 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | งานวิจัยฉบับนี้นำเสนอเทคนิคการเรียนรู้ด้วยเครื่องในการตรวจจับงานเสียที่เกิดจากการอ่านสัญญาณเซอร์โวในกระบวนการทดสอบ ลักษณะของชุดข้อมูลมีจำนวนหลายมิติและมีความไม่สมดุลสูง มีการเลือกคุณลักษณะด้วย Filter Method และ Embedded Method เพื่อลดมิติของข้อมูล มีการประยุกต์ใช้เทคนิคการเรียนรู้ด้วยเครื่อง 2 อัลกอริทึม คือ SVM และ XGBoost ร่วมกับ 3 วิธีการในการจัดการข้อมูลที่ไม่สมดุล คือ SMOTE , Different Cost Learner และ SMOTE กับ Different Cost รวมเป็น 6 วิธีการและทำการเปรียบเทียบผลการทดลอง SVM ให้ประสิทธิภาพที่ดีในการวัดด้วย ROC AUC แต่ให้ประสิทธิภาพที่ค่อนข้างต่ำในการวัดด้วย PRC AUC ขณะที่ XGB ให้ประสิทธิภาพที่ดีทั้ง ROC AUC และ PRC AUC โดยวิธีการของ XGB SMOTE ให้ประสิทธิภาพที่ดีที่สุดที่ ROC AUC 91%, PRC AUC 73% และ Accuracy, Precision, Recall และ F1-Score ที่ 97% |
Other Abstract: | This paper presents machine learning techniques to detect servo track read back failure in hard disk drive manufacturing test process. The data is high-dimensional and highly imbalanced. Feature selection techniques with filter method and embedded method are used to reduce the dimension of data. We apply two machine learning algorithms, each algorithm applied three different imbalanced data handling methods; total six methods to compare: SMOTE, Different Cost and SMOTE with Different Cost to handle imbalance data. Several machine learning methods are compared. The SVM algorithm shows good performance on ROC AUC while low performance on PRC AUC. The XGB algorithm shows good performance on both ROC AUC and PRC AUC. The XGB SMOTE achieved the best performance with ROC AUC 91%, PRC AUC 73% and Accuracy, Precision, Recall, F1-score 97%. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2564 |
Degree Name: | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/80820 |
URI: | http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2021.859 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.58837/CHULA.THE.2021.859 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
6270314021.pdf | 1.67 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.