Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83029
Title: Geophysical site investigation and ground response analysis of Bangkok subsoil due to earthquake
Other Titles: การสำรวจทางธรณีฟิสิกส์และการวิเคราะห์ผลตอบสนองของชั้นดินกรุงเทพจากการกระทำของแผ่นดินไหว
Authors: Muhammad Fatih Qodri
Advisors: Suched Likitlersuang
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
Issue Date: 2018
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The potential damages on building and infrastructure could be affected by long-distance earthquakes since the vibrations can appear ground motion amplification during the wave propagation. Bangkok urban area is located a hundred kilometers away from the potential area of the earthquake epicenter.  However, some people in Bangkok could feel the shaking during the earthquake. It indicates that the long-period shaking could happen during the earthquake. In line with this phenomenon, this study aims to interpret the amplification effect and spectral acceleration in the local site of Bangkok due to remoted earthquakes. The microtremor measurement was conducted at four locations in Bangkok to obtain the information of the natural frequency of subsoil and verified with boring log and geological data. The horizontal-to-vertical spectral ratio (HVSR) method was applied to estimate ground thickness and shear wave velocity. The next generation attenuation (NGA) models were implemented to generate ground motion at Three Pagoda Fault as the closest active fault from Bangkok. Equivalent linear one-dimensional seismic ground response analysis was then performed to observe the soil behavior and ground motion parameters on the investigated sites. The results could describe the site effect due to earthquake on Bangkok subsoils. In addition, this research assesses spectral acceleration result compared to spectral acceleration design for Bangkok from seismic resistant design of buildings and structures of Thailand. In general, the results are also addressed to make awareness of the earthquakes for the local people. 
Other Abstract: ความเสียหายต่ออาคารและสาธารณูปโภคอาจเกิดขึ้นจากแผ่นดินไหวทางไกล เนื่องจากการสั่นสะเทือนอาจขยายการเคลื่อนที่ของพื้นดินในระหว่างการแผ่ขยายคลื่น กรุงเทพมหานครตั้งอยู่ห่างจากจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวเป็นระยะทางหลายร้อยกิโลเมตร อย่างไรก็ตามบางคนในกรุงเทพฯอาจรู้สึกถึงการสั่นสะเทือนเมื่อเกิดแผ่นดินไหวได้ ซึ่งบ่งบอกว่าการสั่นไหวในช่วงคาบยาวอาจเกิดขึ้นในระหว่างเกิดแผ่นดินไหว ด้วยเหตุการณ์ในลักษณะนี้ การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อแปลผลของแฟกเตอร์กำลังขยายและความเร่งเชิงสเปคตรัมของชั้นดินในพื้นที่กรุงเทพมหานครจากการเกิดแผ่นดินไหวระยะไกล ดำเนินการวัดการสั่นของคลื่นผิวดินจากการทดสอบในพื้นที่กรุงเทพมหานครสี่ตำแหน่ง เพื่อทราบข้อมูลความถี่ธรรมชาติของชั้นดินพร้อมทั้งตรวจสอบข้อมูลด้วยเจาะสำรวจดินและข้อมูลทางธรณีวิทยา วิธีอัตราส่วนสเปกตรัมแนวนอนต่อแนวตั้งถูกนำมาใช้เพื่อการประมาณค่าความหนาของชั้นดินและความเร็วคลื่นแบบเฉือน แบบจำลองลดทอนพลังงานคลื่นรุ่นใหม่ได้ถูกนำมาใช้เพื่อการจำลองคลื่นแผ่นดินไหว โดยจำลองการเกิดแผ่นดินไหวที่บริเวณรอยเลื่อนด่านเจดีย์สามองค์ ซึ่งเป็นรอยเลื่อนที่ยังมีการเคลื่อนตัวอยู่และอยู่ใกล้พื้นที่กรุงเทพมหานครมากที่สุด การจำลองการตอบสนองต่อคลื่นแผ่นดินไหวด้วยวิธีเชิงเส้นหนึ่งมิติได้ถูกนำมาใช้เพื่อสังเกตพฤติกรรมดินและคุณสมบัติการเคลื่อนที่ของพื้นดินในพื้นที่ศึกษาที่กำหนด โดยผลลัพธ์จากการศึกษาใช้สามารถอธิบายผลกระทบในพื้นที่จากแผ่นดินไหวในชั้นดินกรุงเทพมหานคร นอกจากนี้ในผลการศึกษานี้ได้ทำการเปรียบเทียบความเร่งเชิงสเปคตรัมที่ได้มากับมาตรฐานการออกแบบอาคารต้านทาน การสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว (มยพ. 1302) โดยหวังว่าผลการศึกษาจะสามารถสร้างความตระหนักในเรื่องแผ่นดินไหวสำหรับประชาชนในพื้นที่ได้
Description: Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2018
Degree Name: Master of Engineering
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Civil Engineering
URI: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/83029
URI: http://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2018.133
metadata.dc.identifier.DOI: 10.58837/CHULA.THE.2018.133
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6070284021.pdf5.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.