Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10004
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิไล อัศวเดชศักดิ์-
dc.contributor.advisorทวีรัก เจริญสุข-
dc.contributor.authorรณชัย ยิ้มแย้ม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-13T03:58:54Z-
dc.date.available2009-08-13T03:58:54Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9741312113-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10004-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractศึกษาหาที่มาของอารมณ์ขันในภาพโฆษณาทางนิตยสาร หารูปแบบการนำเสนออารมณ์ขันในภาพโฆษณาทางนิตยสาร หาความสัมพันธ์ระหว่างที่มาและรูปแบบการนำเสนออารมณ์ขัน ว่ามีความสัมพันธ์กันอย่างไร วิธีการที่ใช้ในการวิจัยคือ นับความถี่ของจำนวนตัวอย่างภาพโฆษณาในแต่ละที่และรูปแบบการนำเสนอฯ และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างที่มากับรูปแบบการนำเสนอฯ ด้วยความถี่ที่พบ ผลการวิจัยพบว่า ที่มาของการใช้อารมณ์ขันในภาพโฆษณาทางนิตยสารมีทั้งหมด 7 ที่มา คือ 1.ลามกอนาจาร 2.ความโชคร้ายทางร่างกาย 3.กลไกของโครงเรื่อง 4.ลักษณะตัวละคร 5.ตลกความคิด 6.ล้อเลี่ยนเสียดสี 7.บุคลาธิษฐาน โดยที่มา ที่พบว่ามีการใช้มากที่สุดคือ ที่มาตลกความคิด ส่วนที่มาที่พบว่ามีการใช้น้อยที่สุดคือ ที่มาลามกอนาจาร รูปแบบการนำเสนออารมณ์ขันในภาพโฆษณาทางนิตยสารมีทั้งหมด 8 รูปแบบคือ 1 ซ่อนปมอำพราง 2.หักมุม 3.ทำเรื่องใหญ่เป็นเรื่องเล็ก 4.ความแตกต่างระหว่างยุคสมัย 5.นิสัยความเป็นอยู่ 6.สิ่งเกินจริง 7.นัยประหวัด 8.เล่าขาน โดยรูปแบบการนำเสนอฯ ที่พบว่ามีการใช้มากที่สุดคือ รูปแบบเล่าขาน ส่วนรูปแบบฯ ที่พบว่ามีการใช้น้อยที่สุดคือ รูปแบบซ่อนปมอำพราง และรูปแบบความแตกต่างระหว่างยุคสมัย ที่มาของอารมณ์ขันแต่ละที่มา ไม่เฉพาะเจาะจงว่าสามารถนำเสนอด้วยรูปแบบการนำเสนอฯ ได้เพียงรูปแบบเดียวเท่านั้น แต่ที่มาหนึ่งสามารถนำเสนอด้วยรูปแบบการนำเสนอฯ ได้มากว่า 1 รูปแบบฯ เป็นความสัมพันธ์แบบไม่ตายตัว ที่มาลามกอนาจารเหมาะสมกับรูปแบบการนำเสนอฯ แบบเล่าขานมากที่สุด ที่มาความโชคร้ายทางร่างกายเหมาะสมกับรูปแบบการนำเสนอฯ แบบเล่าขานมากที่สุด ที่มากลไกของโครงเรื่องเหมาะสมกับรูปแบบการนำเสนอฯ แบบนิสัยความเป็นอยู่มากที่สุด ที่มาลักษณะตัวละครเหมาะสมกับรูปแบบการนำเสนอฯ แบบนิสัยความเป็นอยู่มากที่สุด ที่มาตลกความคิดเหมาะสมกับรูปแบบการนำเสนอฯ แบบนัยประหวัดมากที่สุด ที่มาล้อเลียนเสียดสีเหมาะสมกับรูปแบบการนำเสนอฯ ความแตกต่างระหว่างยุคสมัยมากที่สุด ที่มาบุคลาธิษฐานเหมาะสมกับรูปแบบการนำเสนอฯ แบบเล่าขานมากที่สุดen
dc.description.abstractalternativeFind the humor sources in magazine advertisin images. To find the presentation styles im magazine advertising images. To find the relations between of humor sources and the presentation styles. The process of research is to count the frequency of each piece of advertising images sampling with the humor sources and the presentation styles and analyze the relation of sources and presentations by the found frequency. The research finding, provides seven sources of the use of humor in magazine advertising images as follows: 1.Obscenity 2.Physical Mishap 3. Plot Device 4.Inconsistency of Character 5. Comedy of idea 6. Mock, satire 7.Personificantion. Comedy of idea is the most favorite used and Obscenity is the less one. The presentation styles is to determine to eight items as follows: 1.Hidden & understatement 2.Reverse 3.Huge & Tiny 4.Antique & modern 5.Habits & customs 6.Exaggeration 7.Comparison 8.Storytelling. From these items, storytelling is the most favorite used style and hidden & understatement and antique & modern are the less one. One of the humor sources is not presented only one way but serveral ways that are flexible relation. Obscenity related with storytelling, physical mishap related with storytelling, plot device related with habits and customs, inconsistency of character related with habits and customs comedy of idea related with comparsion, mock, satire related with antique & modern, personification related with storytelling.en
dc.format.extent3103523 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectอารมณ์ขันen
dc.subjectโฆษณาทางวารสารen
dc.titleการใช้อารมณ์ขันในภาพโฆษณาทางนิตยสารen
dc.title.alternativeThe use of humor in magazine adveristing imagesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนฤมิตศิลป์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorWilai.A@chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Fine Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ronnachai.pdf3.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.