Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11728
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | Rangsini Mahanonda | - |
dc.contributor.author | Orawan Charatkulangkun | - |
dc.contributor.author | Sathit Pichyangkul | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Pharmaceutical Sciences | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Pharmaceutical Sciences | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Pharmaceutical Sciences | - |
dc.date.accessioned | 2009-11-27T10:44:14Z | - |
dc.date.available | 2009-11-27T10:44:14Z | - |
dc.date.issued | 2006 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11728 | - |
dc.description.abstract | Background and objectives: IL-17 is a novel T cell-derived cytokine that promotes inflammatory responses. It is presence in inflamed gingival tissues and gingival crevicular fluid of periodontitis patients. In this study we investigated the effects of IL-17 alone or in combination with IFN-Y on the immune modulation of human gingival fibroblasts (HGFs) which would contribute to pathogenesis of periodontium. Methods and results: Various concentrations of IL-17, IFN-Y or the combination of these two cytokines were added to HGF cultures. The expression of ICAM-1, HLA-DR, and CD40 was assessed by flow cytometry and IL-8 production was determined by ELISA. Our results demonstrated that IFN-Y markedly induced expression of HLA-DR and ICAM-1 and slightly induced CD40 expression on HGFs. In contrast, IL-17 had no effect on these molecules. When combined, IL-17 did not enhance IFN-Y-induced HLA-DR and CD40 expression but significantly up-regulated ICAM-1 expression (p<0.01), Unlike IFN-Y, IL-17 induced IL-8 production from HGFs. When combined, IFN-Y synergistically enhanced IL-17-induce IL-8 production in all HGF lines (p<0.05). Conclusions: These findings indicate that IL-17 and IFN-Y have different effects on HGFs regarding the expression of co-stimulatory molecule and adhesion molecule as well as immune mediator. All of these molecules are critical in controlling immune response, thus indicating the immunoregulatory role of locally produced IL-17 and IFN-Y in inflamed periodontal tissue. | en |
dc.description.abstractalternative | ความเป็นมาและวัตถุประสงค์ : อินเตอร์ลิวคิน-17 (IL-17) ซึ่งเป็นไซโตไคน์ของทีเซลล์ชนิดใหม่ที่กระตุ้นให้เกิดการตอบสนองทางการอักเสบได้ พบได้ทั้งในชิ้นเนื้อเหงือกและน้ำเหลืองเหงือกของผู้ป่วยที่เป็นโรคปริทันต์อักเสบ ในการวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยตรวจสอบผลของอินเตอร์ลิวคิน-17 เพียงพออย่างเดียว หรือเมื่อรวมกับอินเตอร์เฟอรอน-แกมมาเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนภูมิคุ้มกันของเซลล์ไฟโบรบลาสต์จากเหงือกของคนซึ่งจะนำมาซึ่งการทำให้เกิดโรคของอวัยวะปริทันต์ ระเบียบวิจัยและผลการทดลอง : อินเตอร์ลิวคิน-17 หรืออินเตอร์เฟอรอน-แกมมา (IFN-Y) ที่ความเข้มข้นต่าง ๆ หรือไซโตไคน์ทั้งสองชนิดร่วมกัน ใส่ลงในการเพาะเลี้ยงเซลล์ไฟโบรบลาสต์จากเหงือกของคน ผู้วิจัยทำการวัดการแสดงออกของไอแคม-1 (ICAM-1) เอชแอลเอ-ดีอาร์ (HLA-DR) และซีดี 40 (CD 40) ด้วยการวิเคราะห์ โดยใช้โฟลไซโตเมทรี (flow cytometry) และวัดการผลิตอินเตอร์ลิวคิน-18 ด้วยวิธีอีไลซ่า (ELISA) ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า อินเตอร์เฟียรอน-แกมมาสามารถส่งเสริมการแสดงออกของเอชแอลเอ-ดีอาร์ และไอแคม-1 บนเซลล์ไฟโบรบลาสต์ได้อย่างชัดเจน และมีผลต่อการแสดงออกของซีดี 40 เพียงเล็กน้อย ในทางตรงกันข้ามอินเตอร์ลิวคิน-17 ไม่มีผลต่อโมเลกุลทั้งสาม เมื่อร่วมกันอินเตอร์ลิวคิน-17 ไม่มีผลส่งเสริมอินเตอร์เฟียรอนแกมมาในการกระตุ้นการแสดงออกของเอซแอลเอ-ดีอาร์ และซีดี 40 แต่มีผลส่งเสริมแสดงออกของไอแคม-1 อย่างมีนัยสำคัญ (p<0.01) ในทางตรงกันข้ามกับอินเตอร์เฟียรอน-แกมมา อินเตอร์ลิวคิน-17 สามารถกระตุ้นให้เซลล์ไฟโบรบลาสต์ผลิตอินเตอร์ลิวคิน-8 ได้ และเมื่อกระตุ้นด้วยไซโตไคน์ทั้งสองชนิดร่วมกัน อินเตอร์เฟียรอนแกมมามีผลส่งเสริมอินเตอร์ลิวคิน-17 ในการกระตุ้น การผลิตอินเตอร์ลิวคิน-8 จากเซลล์ไฟโบรบลาสต์อย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) สรุป : การวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าอินเตอร์ลิวคิน-17 และอินเตอร์เฟียรอน-แกมมามีผลที่แตกต่างบนเซลล์ไฟโบรบลาสต์จากเหงือกของคนในเรื่องของการแสดงออกของโค-สติมมูลาโทรี โมเลกุล และโมเลกุลยืดเกาะเช่นเดียวกับสารสื่ออักเสบ โมเลกุลเหล่านี้ทั้งหมดจำเป็นในการควบคุมการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน จึงเป็นการบ่งชี้ถึงบทบาททางการควบคุมระบบภูมิคุ้มกันเฉพาะที่ของอินเตอร์ลิวคิน-17 และอินเตอร์เฟียรอน-แกมมาในเนื้อเยื่อปริทันต์ที่อักเสบ | en |
dc.description.sponsorship | Ratchadaphiseksomphot Endowment Fund | en |
dc.format.extent | 4182438 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | en | es |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en |
dc.rights | Chulalongkorn University | en |
dc.subject | Periodontitis | en |
dc.subject | Cytokines | en |
dc.subject | Interleukin-17 | en |
dc.title | The role of IL-17 in periodontitis | en |
dc.title.alternative | บทบาทของอินเตอร์ลิวคิน 17 ในโรคปริทันต์อักเสบ : รายงานผลการวิจัย | en |
dc.type | Technical Report | es |
dc.email.author | Rangsini.M@Chula.ac.th | - |
dc.email.author | Orawan.C@Chula.ac.th | - |
dc.email.author | no information provided | - |
Appears in Collections: | Dent - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Rangsinee_Role.pdf | 4.08 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.