Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11792
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วาทิต เบญจพลกุล | - |
dc.contributor.author | วิกรณ์ คุณศรีรักษ์สกุล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2009-12-09T03:27:01Z | - |
dc.date.available | 2009-12-09T03:27:01Z | - |
dc.date.issued | 2544 | - |
dc.identifier.isbn | 9740310052 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11792 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 | en |
dc.description.abstract | เสนอการประยุกต์ฟัซซีลอจิกสำหรับปรับค่าเริ่มเปลี่ยนของซอฟต์แฮนด์ออฟ ในระบบสื่อสารเคลื่อนที่ซีดีเอ็มเอ เพื่อปรับปรุงสมรรถนะของข่ายเชื่อมโยงไปหน้า (Forward Link) ให้ดีขึ้น โดยวัดจากประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทรังค์ (TRE: Trunk Resource Efficiency) ความน่าจะเป็นของการติดขัดทั้งสำหรับการเรียกที่เกิดขึ้นใหม่ และสำหรับการเรียกที่เกิดจากการแฮนด์ออฟ โดยอินพุตของฟัซซีลอจิกคือจำนวนช่องสัญญาณที่เหลือของสถานีฐาน ระยะห่างระหว่างสถานีฐานกับสถานีเคลื่อนที่ ส่วนเอาต์พุตของฟัซซีลอจิกคือ ค่าเริ่มเปลี่ยนของซอฟต์แฮนด์ออฟ T_ADD และ T_DROP และนำผลการจำลองแบบของวิธีที่นำเสนอ เปรียบเทียบกับของวิธีซอฟต์แฮนด์ออฟตามมาตรฐาน IS95-A และผลงานที่มีผู้ที่นำเสนอไว้ก่อนหน้านี้ จากผลการจำลองแบบพบว่า วิธีที่นำเสนอมีประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรทรังค์ที่ดีกว่าวิธีการอื่นๆ และลดความน่าจะเป็นของการติดขัดทั้งสำหรับการเรียกที่เกิดขึ้นใหม่ และสำหรับการเรียกที่เกิดจากการแฮนด์ออฟลงมากกว่าวิธีการอื่นๆ โดยสามารถรองรับทราฟฟิกได้สูงกว่า โดยที่ที่โหลดทราฟฟิกเข้าสู่ระบบสูงเท่ากับ 50 เออร์แลง วิธีที่นำเสนอรองรับโหลดทราฟฟิกได้สูงกว่าของวิธีซอฟต์แฮนด์ออฟตามมาตรฐาน IS95-A อยู่ 33% ด้วยความน่าจะเป็นของการติดขัดทั้งสำหรับการเรียกที่เกิดขึ้นใหม่ และสำหรับการเรียกที่เกิดจากการแฮนด์ออฟน้อยกว่าของวิธีซอฟต์แฮนด์ออฟ ตามมาตรฐาน IS95-A อยู่ 28% และ 47% ตามลำดับ ขณะที่คุณภาพของการต่อยังอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ | en |
dc.description.abstractalternative | To propose an application of fuzzy logic for adapting soft handoff thresholds in CDMA Mobile Communication System to improve forward link performance. Evaluation indicators are TRE (Trunk Resource Efficiency), new call blocking probability and handoff call blocking probability. The inputs to fuzzy inference system are the number of remaining channels and distance between base station and mobile station while the outputs are the soft handoff thresholds of T_ADD and T_DROP. The proposed method is compared to conventional soft handoff (IS95-A) and other methods that were previously proposed. From simulation results, TRE, new call blocking probability and handoff call blocking probability of the proposed method are better and carried traffic load is higher than those of the other methods. At the offered traffic load of 50 Erlang, the carried traffic of the proposed method is 33% higher than that of the IS95-A and new call blocking probability and handoff call blocking probability of the proposed method are 28% and 47% less than those of the IS95-A, respectively, while the communication quality is still acceptable. | en |
dc.format.extent | 3579448 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ฟัสซีลอจิก | en |
dc.subject | การเข้าถึงแบบหลายทางด้วยการแบ่งรหัส | en |
dc.subject | ระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ | en |
dc.title | การประยุกต์ฟัซซีลอจิกสำหรับปรับค่าเริ่มเปลี่ยนของซอฟต์แฮนด์ออฟในระบบสื่อสารเคลื่อนที่ซีดีเเอ็มเอ | en |
dc.title.alternative | Application of fuzzy logic for adapting soft handoff thresholds in CDMA mobile communication system | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมไฟฟ้า | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Watit.B@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Vikorn.pdf | 3.5 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.