Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12138
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรพล วิรุฬห์รักษ์-
dc.contributor.authorวิชชุตา วุธาทิตย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialกรุงเทพฯ-
dc.date.accessioned2010-03-09T01:07:51Z-
dc.date.available2010-03-09T01:07:51Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743343121-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12138-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractรวบรวมและศึกษารูปแบบกับองค์ประกอบของนาฏยศิลป์ ในงานสมโภชพระราชพิธีต่างๆ ที่ปรากฏบนภาพจิตรกรรมฝาผนังสมัยรัตนโกสินทร์ โดยมีขอบเขตการศึกษาเฉพาะภาพจิตรกรรมฝาผนัง ตั้งแต่รัชกาลที่ 1 ถึงรัชกาลที่ 5 และเป็นภาพที่ปรากฏเฉพาะพระอารามหลวงในกรุงเทพมหานคร การศึกษาได้บันทึกภาพถ่ายนาฏยศิลป์ในงานสมโภชพระราชพิธีต่างๆ บนภาพจิตรกรรมฝาผนังสมัยรัตนโกสินทร์ จากพระอารามหลวงในกรุงเทพมหานคร จำนวน 8 วัด และนำภาพถ่ายมาวิเคราะห์กับข้อมูลเอกสาร และข้อมูลการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิทางนาฏยศิลป์ เพื่อใช้เป็นเหตุผลประกอบการวิเคราะห์ โดยตั้งประเด็นการศึกษา 3 หัวข้อ คือ 1. รูปแบบของนาฏยศิลป์ 2. องค์ประกอบของนาฏยศิลป์ 3. คุณค่าที่ได้รับ การศึกษาพบว่า นาฏยศิลป์ในงานสมโภชพระราชพิธีต่างๆ บนภาพจิตรกรรมฝาผนังสมัยรัตนโกสินทร์สามารถแบ่งได้เป็น 1. โขน 2. ละคร 3. หนัง 4. หุ่น 5. การละเล่นของหลวง 6. การละเล่นต่างๆ 7. การละเล่นพื้นเมือง 8. การแสดงอื่นคือ งิ้ว โดยมีองค์ประกอบของนาฏยศิลป์ในเรื่องของ 1. ผู้แสดงและเครื่องแต่งกาย 2. เรื่องที่แสดง 3. เครื่องดนตรี 4. โอกาสการแสดงและสถานที่แสดง นาฏยศิลป์ในงานสมโภชพระราชพิธีต่างๆ บนภาพจิตรกรรมฝาผนัง มีขึ้นด้วยเหตุผล 2 ประการ คือ ประการแรก เพื่อเป็นการแสดงความยินดีเฉลิมฉลองหรือบูชา เช่น นาฏยศิลป์สมโภชในพระราชพิธีอัญเชิญพระพุทธสิหิงค์ หรือในงานพระราชพิธีสมโภชช้างเผือก เป็นต้น ประการที่สอง ถือเป็นส่วนหนึ่งของพระราชพิธีถวายพระเมรุมาศ โดยจะจัดนาฏยศิลป์ประเภทต่างๆ สมโภชโดยรอบของปริมณฑลและพระราชพิธีถวายพระเมรุมาศ ดังนั้นการศึกษาจึงเป็นประโยชน์แก่การศึกษาความรู้ ด้านประวัตินาฏยศิลป์ในประเทศไทยทางหนึ่ง นอกเหนือจากการศึกษาจากข้อมูลทางเอกสาร ภาพนาฏยศิลป์ดังกล่าวข้างต้น ให้คุณค่าและมีความสัมพันธ์กับวิชาอื่นหลายด้าน ทั้งด้านดุริยางคศิลป์ ทัศนศิลป์ ศาสนา ประวัติศาสตร์ วรรณคดี ขนบธรรมเนียมประเพณี ซึ่งนับเป็นความรู้และปัญญาของบรรพชนของไทย ที่ควรค่าแก่การศึกษาวิจัยให้ขยายกว้างขวางต่อไปen
dc.description.abstractalternativeTo collect and study the forms and elements of the dance in Royal ceremonies as appeared on the mural painting of the Royal temples in Bangkok in the Rattanakosin Period during the reign of King Rama I and King Rama V. The photographs of the dance in Royal Ceremonies on the mural painting of Eight Royal temples in Bangkok are taken, analyzed and interpreted. Documentary data as well as an interview with experts in dance are also utilized in order to give an answer to three raised questions about the forms, elements and value of the dance in Royal ceremonies. The research comes to the conclusion that the dance in Royal Ceremonies which appeared on the mural painting of the Royal temples in Bangkok during the reign of King Rama I and King Rama V can be classified into eight forms, namely, khon, lakhon, nang, puppet show, royal amusements, folk amusements, Chinese opera. Elements of the dance consist of performers and costume, content, musical instruments, and also time and place for performance. The significance of the dance in Royal ceremonies which appeared on the mural painting is twofold: firstly, a congratulation celebration or religious worship such as the dance for congratulation celebration of white elephants and the dance in the religious worship ceremony for Phra Buddhasihinga; secondly, a part of the Royal cremation ceremony. The research results in the extension of useful knowledge of the history of dance in Thailand in addition to documentary resource. The mural paintings mentioned above are of great value and related to other field of knowledge, music, visual arts, religion, history, literature including tradition, showing knowledge and wisdom Thai ancestors to be widely studied in the future.en
dc.format.extent816154 bytes-
dc.format.extent724102 bytes-
dc.format.extent1124180 bytes-
dc.format.extent3806148 bytes-
dc.format.extent1426852 bytes-
dc.format.extent1282238 bytes-
dc.format.extent1015248 bytes-
dc.format.extent1364331 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectนาฏศิลป์en
dc.subjectนาฏศิลป์ไทยen
dc.subjectพิธีทางศาสนาและพิธีกรรมen
dc.subjectมหรสพen
dc.subjectจิตรกรรมฝาผนังไทยen
dc.subjectวัด -- ไทย -- กรุงเทพฯen
dc.titleนาฏยศิลป์ในงานสมโภชพระราชพิธีต่างๆ ที่ปรากฏบนภาพจิตรกรรมฝาผนังสมัยรัตนโกสินทร์en
dc.title.alternativeDance in royal cermonies which appeared on the mural painting of the Rattanakosin perioden
dc.typeThesises
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนาฏยศิลป์ไทยes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSurapone.V@chula.ac.th-
Appears in Collections:Fine Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Vijjuta_Vu_front.pdf797.03 kBAdobe PDFView/Open
Vijjuta_Vu_ch1.pdf707.13 kBAdobe PDFView/Open
Vijjuta_Vu_ch2.pdf1.1 MBAdobe PDFView/Open
Vijjuta_Vu_ch3.pdf3.72 MBAdobe PDFView/Open
Vijjuta_Vu_ch4.pdf1.39 MBAdobe PDFView/Open
Vijjuta_Vu_ch5.pdf1.25 MBAdobe PDFView/Open
Vijjuta_Vu_ch6.pdf991.45 kBAdobe PDFView/Open
Vijjuta_Vu_back.pdf1.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.