Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13139
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บุษบง ตันติวงศ์ | - |
dc.contributor.author | ศิรประภา พงศ์ไทย | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2010-07-29T01:52:50Z | - |
dc.date.available | 2010-07-29T01:52:50Z | - |
dc.date.issued | 2542 | - |
dc.identifier.isbn | 9743334823 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13139 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 | en |
dc.description.abstract | พัฒนาโปรแกรมส่งเสริมการสอนภาษาแบบธรรมชาติสำหรับครูอนุบาล โดยใช้วิธีการไตร่ตรองสารนิทัศน์ โดยการพัฒนาโปรแกรมฯ ประกอบด้วย 4 ขั้น คือ ขั้นที่ 1 เตรียมการ ขั้นที่ 2 สร้างโปรแกรมฯ ขั้นที่ 3 ทดลองใช้โปรแกรมฯ ขั้นที่ 4 ปรับปรุงโปรแกรมฯ กรณีศึกษา คือ กลุ่มชุมชนแห่งการเรียนรู้นวัตกรรมการสอนภาษาแบบธรรมชาติสองโรงเรียน สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชน กรุงเทพมหานคร และสังกัดสำนักงานการประถมศึกษา กรุงเทพมหานคร ผู้เข้าร่วมในโปรแกรมฯ คือ ครูอนุบาลจำนวน 17 คนของโรงเรียนดังกล่าว ประเมินการสอนภาษาแบบธรรมชาติ ด้วยแบบประเมินพฤติกรรมการสอน ที่สะท้อนหลักการสอนภาษาแบบธรรมชาติของครูอนุบาล และประเมินความพึงพอใจของครูและผู้บริหารด้วยแบบสัมภาษณ์ ผลการทดลองใช้โปรแกรมฯ พบว่า 1) หลังการใช้โปรแกรมฯ ครูทั้งหมดมีพฤติกรรมการสอนที่สะท้อนหลักการสอนภาษาแบบธรรมชาติ อยู่ในระดับ 3 ขึ้นไปทุกรายการ 2) ครูทั้งหมดมีพฤติกรรมการสอน ที่สะท้อนหลักการสอนภาษาแบบธรรมชาติ สูงขึ้นอย่างน้อยหนึ่งระดับใน 16 รายการ จาก 20 รายการ เมื่อเปรียบเทียบผลการประเมิน ในระยะเริ่มการปฏิบัติงานกับหลังการใช้โปรแกรมฯ 3) ครูและผู้บริหารทั้งหมด มีความพึงใจเกี่ยวกับการดำเนินการใช้โปรแกรมฯ อยู่ในระดับมาก โปรแกรมฯ ที่ปรับปรุงแล้วประกอบด้วย แนวคิด หลักการ ความมุ่งหมาย เนื้อหา การดำเนินการใช้โปรแกรมฯ และการประเมินผล การพัฒนาครูเริ่มจากระยะที่ 1 เตรียมการปฏิบัติงาน ระยะที่ 2 เริ่มการปฏิบัติงาน ระยะที่ 3 พัฒนางาน ระยะที่ 4 สรุปการปฏิบัติงาน กระบวนการเรียนรู้ของครู เริ่มจากการแลกเปลี่ยนประสบการณ์เดิมเกี่ยวกับการสอน การเก็บรวบรวมสารนิทัศน์ การไตร่ตรองสะท้อนความคิด การปฏิบัติที่สะท้อนการก่อรูปความรู้ความเข้าใจ ระยะเวลาที่ใช้ในโปรแกรมฯ ไม่ต่ำกว่า 24 สัปดาห์ ลักษณะเด่นของโปรแกรมฯ คือ เน้นให้ครูเป็นผู้สรรค์สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง และเรียนรู้ร่วมกันในกลุ่มชุมชนแห่งการเรียนรู้การสอนภาษาแบบธรรมชาติ | en |
dc.description.abstractalternative | To develop a whole language instructional enhancement program for preschool teachers by using reflective documentation method. The program consisted of four phases, namely, preparation, construction, field testing, and revision. The case study was a learning community of 17 preschool teachers in two schools under the Office of the Private Education Commission, Bangkok Metropolis and the Office of the National Primary Education Commission, Bangkok Metropolis. Whole Language Instruction Implementation Profile for Preschool Teachers was used to assess the teacher performance. Teacher and administrator interviews were used to assess program satisfaction. The findings of the study were as follows: 1) after the program, the teachers' instructional performance reflecting whole language principles were no less than level 3 in all aspects 2) after the program, the teachers' instructional performance reflecting whole language principles were improved by at least one level in 16 out of 20 aspects 3) all teachers and administrators viewed the program as most satisfactory. The program consisted of concepts, principles, goal, content, implementation procedure, and evaluation. Whole language instructional improvement proceeded from phase 1 : preparation phase 2 : initial operation phase 3 : developmet phase 4 : conclusion. The teacher learning process started from sharing prior teaching experience, documentation, reflection, and re-constructed actions. Time requirement of program implementation was no less than 24 weeks. The prominent features of the program were teacher construction and re-construction of the body of knowledge and collaboration in learning community. | en |
dc.format.extent | 540537 bytes | - |
dc.format.extent | 797055 bytes | - |
dc.format.extent | 2139659 bytes | - |
dc.format.extent | 2290196 bytes | - |
dc.format.extent | 2549445 bytes | - |
dc.format.extent | 957945 bytes | - |
dc.format.extent | 4057054 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.1999.501 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ภาษา -- การศึกษาและการสอน | en |
dc.subject | การสอนภาษาแบบธรรมชาติ | en |
dc.subject | ครูอนุบาล | en |
dc.title | การพัฒนาโปรแกรมส่งเสริมการสอนภาษาแบบธรรมชาติสำหรับครูอนุบาล โดยใช้วิธีการไตร่ตรองสารนิทัศน์ | en |
dc.title.alternative | A development of a whole language instructional enhancement program for preschool teachers by using reflective documentation method | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | การศึกษาปฐมวัย | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Boosbong.T@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.1999.501 | - |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Siraprapa_Po_front.pdf | 527.87 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Siraprapa_Po_ch1.pdf | 778.37 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Siraprapa_Po_ch2.pdf | 2.09 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Siraprapa_Po_ch3.pdf | 2.24 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Siraprapa_Po_ch4.pdf | 2.49 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Siraprapa_Po_ch5.pdf | 935.49 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Siraprapa_Po_back.pdf | 3.96 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.