Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13574
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บุษกร สำโรงทอง | - |
dc.contributor.author | ธีระวุฒิ กลิ่นด้วง | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2010-10-04T02:17:24Z | - |
dc.date.available | 2010-10-04T02:17:24Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13574 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 | en |
dc.description.abstract | เพลงกราวใน สองชั้น เป็นเพลงหน้าพาทย์ประกอบอากัปกิริยาการของตัวละครฝ่ายยักษ์ ลักษณะทำนองแสดงความองอาจ สง่างามและฮึกเหิม มีกลุ่มลูกโยนที่มีความพิเศษ ประกอบไปด้วย กลุ่มเสียงโยน 6 เสียงมีคุณลักษณะที่เหมาะสมในการนำมาประดิษฐ์เป็นทางเดี่ยว เนื่องจากในทำนองเพลงทั้งลูกโยนและทำนองหลัก เปิดโอกาสให้สามารถตบแต่งทำนอง พลิกแพลงและแปรทางให้วิจิตรบรรจง เป็นเพลงที่แสดงถึงภูมิปัญญาของผู้ประพันธ์ที่ถึงพร้อมด้วยความรู้ทั้งเชิงศาสตร์และเชิงศิลป์จนบังเกิดสุนทรียรส ทางดนตรีได้หลากหลาย จากการวิเคราะห์การดำเนินทำนองในทางเดี่ยวระนาดเอกนั้น พบว่าลักษณะการดำเนินทำนองในทางเดี่ยวอาศัยทำนองหลักเป็นเค้าโครงในการดำเนินทำนอง การดำเนินทำนองแบ่งออกเป็น 2 เที่ยวโดยในเที่ยวที่ 1 การดำเนินทำนองเน้นการบรรเลงเก็บโดยใช้กลอนสับดำเนินทำนองทำนองในกลุ่มลูกโยนเป็นหลัก และส่วนทำนองที่เป็นทำนองเชื่อม ระหว่างลูกโยนใช้กลอนไต่ลวดเป็นกลอนที่ดำเนินทำนองในช่วงทำนองเชื่อมของโยนต่างๆ ผสมกับการใช้กลวิธีการบรรเลงแบบสะบัด สะเดาะ ขยี้ ส่วนการดำเนินทำนองในเที่ยวที่ 2 นั้น พบว่า การดำเนินทำนองมีการใช้กลวิธีพิเศษคือ การกรอเสียงยาว การรัวคาบลูกคาบดอก การตีรัวเป็นทำนอง และกลวิธีการแบ่งมือสลับซ้ายขวาดำเนินทำนองเลียนแบบเสียงจังหวะกลอง นอกจากนี้จากการวิเคราะห์ยังพบอีกว่า ช่วงของการดำเนินทำนองในช่วงที่เป็นเนื้อทำนองหลัก ซึ่งอยู่ในประโยคที่ 52-69 นั้น ครูชฏิล นักดนตรี ได้คิดการดำเนินทำนองขึ้นมาใหม่ ซึ่งดำเนินทำนองโดยใช้การบรรเลงเก็บและยึดทำนองหลักเป็นเค้าโครงหลักในการประพันธ์ | en |
dc.description.abstractalternative | Krawnai Songchan is a Na Part Song that solos with giant characters as boldness, grand and courage. There is specialized Look Yon Group consists of Look Yon Group of 6 tones that qualifies for creating solo style. This is because of the main melody and Look Yon can apply and adopt for beauty, and expresses the composer’s intelligence through scientific knowledge and arts to provide musical aesthetic. The analysis of Ranad Ek solo, found that the character of solo melody relied on the basic melody. The solo melody was classified by 2 types; first, the melody emphasizes on Thang Keb with Klon Sub as main Look Yon Group and the melody that connects between Look Yon uses Klon Tai Leud to connect by several Yon. The solo consists of Sabud, Sadao, Kayee. Second, there was found that the solo melody uses advanced technique such as Kab Look Kab Dok, Kro Sieng Yao, Ruaw Pen Tham Nong and the method that switches right hand and left separately according to drum rhythm. Furthermore, the analysis also found that the part Kruchatin Nakdontree created by using Thang Keb was between sentence number 52 and 69. | en |
dc.format.extent | 1767319 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.967 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ชฏิล นักดนตรี, 2474- | en |
dc.subject | ระนาดเอก | en |
dc.subject | เพลงกราวใน | en |
dc.subject | ดนตรีไทย | en |
dc.subject | เพลงไทยเดิม | en |
dc.title | วิเคราะห์เดี่ยวระนาดเอกเพลงกราวใน : กรณีศึกษาครูชฏิล นักดนตรี | en |
dc.title.alternative | A musical analysis of Ranad Ek solo : a case study of kru Chatin Nakdontree's Krawnai solo | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | ดุริยางค์ไทย | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Bussakorn.S@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2006.967 | - |
Appears in Collections: | Fine Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Teerawut_Kl.pdf | 1.73 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.