Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16512
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ยง ภู่วรวรรณ | - |
dc.contributor.advisor | พิเชฐ สัมปทานุกุล | - |
dc.contributor.author | จิระ จันท์แสนโรจน์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2012-01-18 | - |
dc.date.available | 2012-01-18 | - |
dc.date.issued | 2552 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16512 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 | en |
dc.description.abstract | มะเร็งปากมดลูกนั้นเป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับ 2 ของประเทศไทย และมีสาเหตุมาจากการติดเชื้อฮิวแมนแปปิโลมาไวรัส (Human papillomavirus : HPV) โดยสามารถเกิดขึ้นได้กับผู้หญิงในตั้งแต่ช่วงอายุวัยรุ่น ดังนั้นในการศึกษานี้ จึงศึกษาความชุกของฮิวแมนแปปิโลมาไวรัส และจำแนกลักษณะทางพันธุกรรมที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ในช่วงปี พ.ศ. 2551 และ 2552 จากตัวอย่างเซลล์ของผู้ป่วยที่เข้ารับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในโรงพยาบาล จำนวน 1,698 ตัวอย่าง เป็นจากโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ 848 ตัวอย่าง และโรงพยาบาลบางปะกอก 9 อินเตอร์เนชั่นแนล 850 ตัวอย่าง โดยได้ตรวจหาเชื้อ HPV ด้วยวิธี semi-nested PCR ที่ใช้ primer ต่อส่วนยีน E1 ของ HPV พบว่ามีอัตราการติดเชื้อ HPV ทั้งสิ้น 149 ตัวอย่างจากทั้งหมด 1,698 ตัวอย่าง คิดเป็น 8.8% และหาลำดับนิวคลีโอไทด์ในส่วนยีน E1 ของ HPV จากนั้นจึงใช้โปรแกรม BLAST เพื่อเปรียบเทียบลำดับนิวคลีโอไทด์ใน GenBank เพื่อใช้จำแนกจีโนไทป์ของ HPV พบว่าจีโนไทป์ที่พบมากที่สุดคือ จีโนไทป์16 27 ตัวอย่าง จาก149 ตัวอย่างที่ให้ผลบวก คิดเป็น18.1% จากตัวอย่างที่ให้ผลบวกทั้งหมดดังนั้นจากการทดลองแสดงวาความชุกของ HPV ในประเทศไทยนั้นมีความใกล้เคียงกับกลุ่มประเทศในภูมิภาคเอเชีย และมีจีโนไทป์ 16 เป็นจีโนไทป์หลักที่พบในประเทศไทย ทำให้ช่วยเป็นพื้นฐานในการเฝ้าระวังป้องกันการติดเชื้อไวรัส และการพัฒนาวัคซีนให้มีความเหมาะสมกับประชากรในประเทศไทยต่อไป | en |
dc.description.abstractalternative | Cervical cancer is the second cancer in Thailand. Human papillomavirus (HPV) is the main cause for develop cervical cancer and can found since adolescent. We study the prevalence and genotypes of HPV in Thailand during 2008-2009 from women attending cervical screening hospital-based routine check up or investigation and treatment. We collected the cervical cell samples from 1,698 women (848 from King Chulalongkorn Memorial hospital, Bangkok and 850 from Bangkok 9 International hospital, Bangkok). 149 from 1,698 (8.8%) samples yielded the partial HPV E1 gene by semi-nested PCR as a 736-bp product. We subjected to direct sequencing and comparison with nucleotide sequences that stored in GenBank applying the BLAST program. 18.1% of positive samples are conserving with genotype 16. In conclusion the prevalence study of HPV is relate with other country in Asia and showed that HPV genotype 16 also the most prevalence in Thailand. This information is provided the basic knowledge for prevented and developed vaccine for Thailand | en |
dc.format.extent | 1574025 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.480 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | โรคเกิดจากไวรัสแปปิโลมา | en |
dc.subject | ปากมดลูก -- มะเร็ง | en |
dc.title | ความชุกและจีโนไทป์ของการติดเชื้อไวรัสฮิวแมนแปปิโลมาของปากมดลูก ในประชากรที่มาตรวจที่โรงพยาบาลในประเทศไทย | en |
dc.title.alternative | Prevalence and genotypes of human papillomavirus infection of cervix among hospital-based population in Thailand | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์การแพทย์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Yong.P@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Pichet.S@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2009.480 | - |
Appears in Collections: | Med - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
jira_ch.pdf | 1.54 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.