Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1746
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorรักศานต์ วิวัฒน์สินอุดม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาการภาพยนตร์และภาพนิ่ง-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2006-08-14T09:42:04Z-
dc.date.available2006-08-14T09:42:04Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1746-
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัยในครั้งนี้เป็นการศึกาษาถึงลักษณะทั่วไปของปัยหาและอุปสรรคของการส่งเสริมอุตสาหกรรมภาพยนตรไทยเพื่อการส่งออก ความพร้อมของผู้อำนวยการสร้างและผู้กำกับภาพยนตร์ในการผลิตเพื่อส่งภาพยนตร์ไทยออกสู่ตลาดต่างประเทศและการต้องการความช่วยเหลือจากรัฐบาล ตลอดจนแนวทางการส่งเสริมภาพยนตร์ไทยเพื่อให้เป็นอุตสาหกรรมส่งออก โดยศึกษาจากความคิดเห็นของผุ้อำนวยการสร้างและผู้กำกับภาพยนตร์จำนวน 34 คน ที่มีชื่ออยู่ในสมาพันธ์สมาคมภาพยนตร์แห่งชาติ เป็นผู้ให้ข้อมูลสำคัญ โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผลการศึกษาพบว่า ผู้อำนวยการสร้างและผู้กำกับภาพยนตร์คิดว่าภาพยนตร์ไทยเป็นอุตสาหกรรม เพราะมีกระบวนการผลิตที่ครบวงจร คือ มีการลงทุน การจ้างงาน มีตัวสินค้า มีการส่งเสริมการขาย และมีผู้บริโภค ด้านปัญหาการส่งเสริมอุตสาหกรรมภาพยนตร?ไย เพื่อการส่งออกนั้นมีปัญหาเกียวกับงบประมาณการผลิตไม่เพียงพอ บทภาพยนตร์ยังไม่มีคุณภาพที่ดีพอ รัฐไม่ให้ความร่วมมือในการถ่ายทำ การเซ็นเซอร์ภาพยนตร์ทำให้มีข้อจำกัดมาก ส่วนในด้านอุปสรรคในการส่งเสริม ได้แก่ นโยบาย กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ไม่เอื้ออำนวยต่อการผลิต ระบบการเก็บภาษีต่าง ๆ ทำให้ต้นทุนการผลิตสูงเกินไป และมาตรการการกีดกันการค้าของต่างประเทศ ทำให้ภาพยนตร์ไทยส่งออกได้ยาก รวมทั้งการรวมกลุ่มของผู้ทำงานด้านภาพยนตร์ไทยยังไม่เข้มแข็งเพียงพอ ส่วนความพร้อมของผู้อำนวยการสร้างและผู้กำกับภาพยนตร์นั้น ส่วนมากจะมีปัญหาเรืองเงินทุนในการสร้าง ประกอบกับควรมีความรู่และประสบการณ์เกี่ยวกับภาพยนตร์พร้อมด้วยคุณสมบัติต่าง ๆ เพื่อแก้ปัญหาด้านบุคลากรในทุก ๆด้าน ความต้องการความช่วยเหลือจากรัฐบาลนั้น ต้องการให้รัฐบาลมีดำเนินการด้านการตลาดให้กับภาพยนตร์ไทยยกเว้นภาษีหรือลดภาษีเกี่ยวกับเครื่องมืออุปกรณ์เกี่ยวกับภาพยนตร์นำเข้า ยกเลิกหรือแก้ไขกฎหมายต่าง ๆ ให้ยืดหยุ่นมากกว่าเดิม ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาพยนต์อย่างจริงจัว และให้หน่วยงานต่างของรัฐให้การสนับสนุนในต่างประเทศ รวมทั้งมีการศึกษาถึงแนวทางการส่งเสริมอุตสาหกรรมภาพยนตร์ของต่างประเทศเพื่อนำมาเป็นแนวทางสำหรับประเทศไทย ส่วนแนวทางของการส่งเสริมนั้น จะต้องผลิตภาพยนตร์ไทยให้เป็นสากล มีมาตรฐานและคุณภาพเพียงพอจะส่งไปขายได้ รัฐเป็นผู้หาตลาดให้โดยมีหน่วยงานหรือตัวแทนที่มีความสามารถ ความชำนาญเป็นผู้ทำหน้าที่นี้ ยกเลิกระบบเซ็นเซอร์หรือปรับปรุงให้ทันสมัยเท่าเทียมกับต่างประเทศ การจัดจำหน่ายควรใช้บริษัทของต่างประเทศเพราะมีความรู้ด้านการตลาดดีกว่าของไทย มีการปราบปรามการละเมิดลิขสิทธิ์อย่างจริงจัง มีการศึกษาถึงวิธีการสร้างภพายนตร์ที่มีคุณภาพ และการดำเนินการด้านการตลาดของต่างประเทศen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was threefold. First, to study the general export problems and obstacles facing the Thai feature industry. Second, to investigate whether Thai film producers and directors are professionally prepared for the international film markets and what support may be rendered by the Thai government, Third, to study ways to promote Thai feature film for export. Thisresearch elicits the opinions of ten producers, and twenty-four directors who are members of the Federation of National Film Association of Thailand. Exploring the cause and effect involved in these issues, it was found thatexport problems associated with the Thai feature film industry were caused by production budget constraints, poor screenplays, a lack of government support and outmoded censorship legislation. Further obstacles include rigid film rules and regualtions, a complicated film taxation policy, difficylties with international trade barrier, and a lack of film maker's unity. The producers and directors are professionally capable of contributing to international film markets, however, they have an insufficient knwoledge of the idiosyncrasies of film production and management at the international level. Government support was lacking inn the access to international film markets, the distribution of Thai feature films at overseas film events such as Road Shows, and sponsorship of overseas Thai Film Festivals. Another area was the reduction of import tax for film aking equipemnt. There remins a great need to reform government film rules and regulations. Official government representatives could be responsible for stimulation commercial aspects and carrying out a film-support policy, as well as studying ways to promote the Thai film industry and protecting against film copyright infringement, both domestic and foreign. It is essential that Thai producers and directors produce films at the highest stanards of quality, and base that quality at an international level. It is also essential that international distributors or agent services be tutilized to develop a worldwide market of Thai films.en
dc.description.sponsorshipทุนเพื่อการวิจัย คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาฯen
dc.format.extent32280984 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectอุตสาหกรรมภาพยนตร์--ไทยen
dc.subjectภาพยนตร์--การผลิตและการกำกับรายการen
dc.subjectภาพยนตร์ไทยen
dc.titleปัญหา อุปสรรค และแนวทางการส่งเสริม อุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทยประเภทบันเทิงเพื่อการส่งออก : กรณีศึกษา ผู้อำนวยการสร้างและผู้กำกับภาพยนตร์ : รายงานผลการวิจัยen
dc.title.alternativeProblems, obstacles and ways to promote Thai feature film industry for exporten
dc.typeTechnical Reporten
dc.email.authorRuksarn.V@chula.ac.th-
Appears in Collections:Comm - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ruksarn(pro).pdf30.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.