Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19018
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศุภร สุวรรณาศรัย-
dc.contributor.advisorพัชรา กาญจนารัณย์-
dc.contributor.authorสุจิตรา สุคนธทรัพย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.coverage.spatialกรุงเทพมหานคร-
dc.date.accessioned2012-04-06T05:27:13Z-
dc.date.available2012-04-06T05:27:13Z-
dc.date.issued2524-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19018-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2524en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาสภาพและปัญหาการใช้โสตทัศนูปกรณ์เพื่อการเผยแพร่ความรู้ด้านการวางแผนครอบครัวในหน่วยงาน และสำรวจความต้องการ ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อโสตทัศนูปกรณ์เหล่านั้น เพื่อหาชนิดของโสตทัศนูปกรณ์ที่เหมาะสมในการให้ความรู้การวางแผนครอบครัวในกรุงเทพมหานคร การดำเนินการวิจัยใช้แบบสอบถามสำหรับเจ้าหน้าที่ที่ทำงานในหน่วยงานการผลิตและการใช้โสตทัศนูปกรณ์เพื่อการวางแผนครอบครัวโดยใช้ประชากรที่มีอยู่ทั้งหมด 17 คน และใช้แบบสอบถามเชิงสัมภาษณ์สำหรับตัวอย่างประชากรซึ่งสุ่มตัวอย่าง อย่างง่ายจากผู้มารับบริการวางแผนครอบครัว ณ ศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 125 คน นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิจัย ปรากฏผลดังนี้ 1. หน่วยงานด้านการผลิตและการใช้โสตทัศนูปกรณ์ในการวางแผนครอบครัวมีการกำหนดนโยบายและมีการวางแผนงานล่วงหน้ามากกว่า 1 ปี งบประมาณการดำเนินงานของหน่วยงานได้มาจากงบประมาณแผ่นดิน ความช่วยเหลือขององค์การต่างประเทศและหน่วยงานเอกชนในประเทศ หน่วยงานให้การสนับสนุนการจัดหาโสตทัศนูปกรณ์ประเภทต่าง ๆ พอสมควร มีการประเมินผลการใช้โสตทัศนูปกรณ์โดยใช้แบบสอบถาม การสังเกตและจดหมายตอบรับ ปัญหาในหน่วยงานที่พบมากที่สุด ได้แก่ ขาดงบประมาณ และเจ้าหน้าที่เผยแพร่มีไม่เพียงพอร้อยละ 53.33 เท่ากัน 2. โสตทัศนูปกรณ์ในการเผยแพร่ความรู้การวางแผนครอบครัวที่ใช้มากที่สุดในกรุงเทพมหานคร เป็นโสตทัศนูปกรณ์ประเภทกิจกรรม ส่วนประเภทวัสดุกราฟฟิคและเอกสารสิ่งพิมพ์ ได้แก่ เอกสารเล่ม ซึ่งมีค่าเฉลี่ย 4.20 และ 3.86 ตามลำดับ 3. ผู้รับบริการวางแผนครอบครัวได้รับความรู้ด้านการวางแผนครอบครัว จากการโฆษณาที่พิมพ์ลงในวัสดุต่าง ๆ ร้อยละ 80.80 และมีความเห็นด้วยอย่างมากกับการใช้ภาพยนตร์ในการโฆษณาความรู้การวางแผนครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 88.00 สำหรับความเชื่อถือในแหล่งข่าว ผู้รับบริการวางแผนครอบครัวให้ความเชื่อถือข่าวที่มาจากโทรทัศน์ร้อยละ 40.80 4. โสตทัศนูปกรณ์ประเภทเครื่องฉาย การจัดรายการ และกิจกรรม เป็นโสตทัศนูปกรณ์ที่เหมาะสมในการเผยแพร่ความรู้การวางแผนครอบครัวในกรุงเทพมหานคร-
dc.description.abstractalternativePurpose: The purposes of this study are two folds. First was to study the status, problems in utilizing audio-visual aids in family planning programs. Second was to survey the needs and opinions of the patients concerning the media were used, and to find the suitable media in this area. Procedure: The questionnaire was used to collect the data from total population of 17 persons in Family Planning Agencies. One hundred and twenty five patients were random selected from the Public Health Service Centers. They were interviewed to collect the data. All the data were computed to show the Percentage, Arithmetic Mean, and Standard Deviation. Results: 1. Family Planning Agencies set the policy for the project more than 1 year. The budget of the project came from government, the International Family Planning Organization and other privacy Family Planning Agencies in Thailand. The agencies supported to facilitate the audio-visual aids. There were some media evaluated by using questionnaires, observation and correspondent. Main problem were shown at 53.33 percentage of lacking of the budget and audio-visual personnel. 2. The most audio-visual aids used in Bangkok Metropolis were training program and pamphlets. It was found at 4.20 and 3.86 arithmetic mean as follows. 3. Eighty point eighty percent of sample patients from Public Health Service Center received Family Planning information from different kinds of poster and 88.00 percent of the same group liked to see the movie of the Family Planning. They believed in the information from television program at 4.080 percent. 4. Projection materials, television and radio programs and activities were suitable audio-visual aids is Family Planning programs in Bangkok Metropolis.-
dc.format.extent483229 bytes-
dc.format.extent472064 bytes-
dc.format.extent932055 bytes-
dc.format.extent349001 bytes-
dc.format.extent835715 bytes-
dc.format.extent362061 bytes-
dc.format.extent708761 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการสื่อสารen
dc.subjectโสตทัศนูปกรณ์en
dc.subjectการวางแผนครอบครัวen
dc.titleการใช้โสตทัศนูปกรณ์เพื่อการเผยแพร่ความรู้ในการวางแผนครอบครัว ในกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeUtilization of audio-visual aids in family planning programs ; Bangkok Metropolisen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suchitra_Su_front.pdf471.9 kBAdobe PDFView/Open
Suchitra_Su_ch1.pdf461 kBAdobe PDFView/Open
Suchitra_Su_ch2.pdf910.21 kBAdobe PDFView/Open
Suchitra_Su_ch3.pdf340.82 kBAdobe PDFView/Open
Suchitra_Su_ch4.pdf816.13 kBAdobe PDFView/Open
Suchitra_Su_ch5.pdf353.58 kBAdobe PDFView/Open
Suchitra_Su_back.pdf692.15 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.