Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19999
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิไล อัศวเดชศักดิ์-
dc.contributor.authorธีรพงศ์ ไศลสุข-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-06-03T05:32:36Z-
dc.date.available2012-06-03T05:32:36Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19999-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractงานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อกำหนดองค์ประกอบและแนวทางการใช้องค์ประกอบทาง เรขศิลป์ที่สามารถสื่อถึงรูปแบบจุดจับใจและสื่อถึงบุคลิกภาพของเพลงลูกทุ่งและสามารถสื่อสารกับกลุ่มเป้าหมายให้เกิดความสนใจและเห็นความสำคัญของเพลงลูกทุ่งอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีแนวทางในการใช้องค์ประกอบทางเรขศิลป์อันประกอบด้วย 1. การใช้สี 2. การใช้ตัวอักษรไทย 3. การใช้ภาพประกอบ 4. การจัดองค์ประกอบ การดำเนินงานวิจัย ประกอบด้วยการหาบุคลิกภาพและจุดจับใจของเพลงลูกทุ่งผ่านการสอบถามจากผู้เชี่ยวชาญด้านเพลงลูกทุ่งและกลุ่มเป้าหมายเพื่อนำไปสร้างแบบสอบถามสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้าน เรขศิลป์เพื่อหาผลขององค์ประกอบทางเรขศิลป์ทั้ง 4 ส่วนดังกล่าวข้างต้น ผลของการวิจัยที่สามารถสื่อสารกับกลุ่มเป้าหมายให้เกิดความสนใจและเห็นความสำคัญของเพลงลูกทุ่งอย่างมีประสิทธิภาพ สรุปได้ดังนี้ 1. รูปแบบจุดจับใจ คือ รูปแบบจุดจับใจด้านลักษณะพิเศษ (Feature Appeal) 2. บุคลิกภาพ คือ 2.1 มีชีวิตชีวา (Lively) 2.2 ดูเป็นมิตร (Friendly) 2.3 มีสเน่ห์,ดูน่าหลงไหล (Charming) 2.4 สบายๆไม่มีกฏเกณฑ์ (Cool-Casual) 2.5 เปิดเผย,ตรงไปตรงมา (Open) 3. การใช้สี คือ กลุ่มโทนสีจัด (Vivid tone) และกลุ่มโทนสีสว่าง (Bright tone) 4. การใช้ตัวอักษรไทย คือ กลุ่มของแบบตัวอักษรไทยที่มีบุคลิกภาพลำลอง (Casual) 5. การใช้ภาพประกอบ คือ 5.1 ภาพที่เกิดจากการผสมกัน (Mixing and Match) 5.2 ภาพเหลวไหล ไร้สาระ ภาพในจินตนาการ ภาพแปลกประหลาด (Absurd ,Surreal ,Bizarre) 6. การจัดองค์ประกอบ คือ การจัดองค์ประกอบจากรูปแบบกริด (Grid System) แบบ คอนเซปท์ชวล ออร์ พิคโทเรียล ออลลูชั่น (Conceptual or Pictorial Allusion)en
dc.description.abstractalternativeThe objective of research is to define compositions, elements and principles of graphic design which can express the appeals and personalities of Thai Country Music and to effectively raise attention among target and encourage them to realize the importance of Thai Country Music. The use of elements of graphic design for this research includes the use of colors, Thai typefaces, illustrations and compositions. The methodology comprised of the study of personalities and appeals of Thai Country Music via experts and target group, and use the gathered information to build the questionnaire for graphic design experts, in order to find the result of the 4 graphic design elements which previously stated. The result of this research, which raises attention and realization of the importance of Thai Country Music among target group, can be concluded as follows. 1. The appropriate appeal for this research is feature appeal. 2. Personalities used are : 2.1Lively 2.2 Friendly 2.3 Charming 2.4 Cool-Casual and 2.5 Open. 3. Color tones used are Vivid tone and Bright tone. 4. Thai typefaces used are the group of Thai typeface which in casual personality. 5. Illustration styles used are : 5.1 Mixing and Match and 5.2 Absurd, Surreal, Bizarre. 6. Composition used is composition by Grid System in Conceptual or Pictorial Allusion.en
dc.format.extent10729895 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.315-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการออกแบบกราฟิกen
dc.subjectเพลงลูกทุ่งen
dc.subjectการจูงใจ (จิตวิทยา)en
dc.subjectวัยรุ่นen
dc.subjectGraphic design-
dc.subjectMotivation (Psychology)-
dc.subjectAdolescence-
dc.titleการออกแบบเรขศิลป์สำหรับเพลงลูกทุ่งเพื่อสร้างความสนใจกับกลุ่มวัยรุ่นในกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeGraphic design for Thai country music to raise attention among teenagers in Bangkoken
dc.typeThesises
dc.degree.nameศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนฤมิตศิลป์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorWilai.A@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.315-
Appears in Collections:Fine Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
teerapong_sa.pdf10.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.