Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2134
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุวรรณา เหลืองชลธาร | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาเภสัชเคมี | - |
dc.date.accessioned | 2006-08-23T05:49:49Z | - |
dc.date.available | 2006-08-23T05:49:49Z | - |
dc.date.issued | 2526 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2134 | - |
dc.description.abstract | ศึกษาดัดแปลงการตรวจสอบประสิทธิภาพยาลดกรดจากวิธี CFR ให้เป็นวิธีที่ง่าย ๆ สะดวก รวดเร็ว โดยการใช้ Methyl Orange-Bromcresol Green TS วัด pH ที่ 3.5 แทนการใช้ pH meter, ใช้มือเขย่าสารละลายทดลองแทนการใช้ magnetic stirrer ที่ติดเครื่องวัดรอบ tachometer ที่ความเร็ว 300+-30 รอบต่อนาที และใช้ measuring pipet แทน buret ผลการทดลอง วัดความสามารถในการสะเทินกรดของยาลดกรดที่เป็นวัตถุดิบ ยาน้ำแขวนตะกอน และยาเม็ด โดยวิธี CFR จะได้ค่าเฉลี่ยเป็น 9.6+-5.3, 33.5+-10.5 และ 11.4+-4.0 mEq. HC1 ต่อขนาดยาที่น้อยที่สุดที่แจ้งไว้ในฉลาก ตามลำดับ และค่าเฉลี่ยที่ได้จากการตรวจสอบโดยวิธีรวดเร็วนี้เป็น 9.7+-5.2, 33.9+-10.8 และ 10.9+-4.0 mEq. HC1 ต่อขนาดยาที่น้อยที่สุดที่แจ้งไว้ในฉลากตามลำดับ ดังนั้น การตรวจสอบประสิทธิภาพยาลดกรดโดยวิธี CFR และโดยวิธีรวดเร็วนี้ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (P>0.05) จึงควรส่งเสริมให้มีการนำวิธีตรวจสอบโดยรวดเร็วนี้ไปใช้ควบคุมประสิทธิภาพยาลดกรดในสถานพยาบาลต่าง ๆ | en |
dc.description.abstractalternative | CFR method was modified to provide a simpler, quicker and more convenience method for the testing of antacid effectiveness. The modification oncludes replacing pH meter with methyl orange-bromocresol green T.S. for the measurement of pH at 3.5, buret with measuring pipet, and omitting magnetic stirrer equipped with tachometer at 300+-30 rpm with shaken by hand instead. The results obtained showed that average acid neutralizing capacity of antacid in raw materials, suspensions and tablets tested by CFR method were 9.6+-5.3, 33.5+-10.5 and 11.4+-4.0 mEq. HC1/minimum labeled dose, respectively, and those tested by the modified method were 9.7+-5.2, 33.9+-10.8 and 10.9+-4.0 mEq. HC1/minimum labeled dose, respectively. As can be seen, these two methods did not differ significantly (P>0.05). Hence, the modified method is more practical for rapid control of antacid effectiveness, especially for health-care institutes. | en |
dc.description.sponsorship | ทุนสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก | en |
dc.format.extent | 42911299 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ยาลดกรด | en |
dc.title | การควบคุมประสิทธิภาพของยาลดกรดโดยรวดเร็ว : รายงานผลการวิจัย | en |
dc.title.alternative | Rapid control pf antacid effectiveness | en |
dc.type | Technical Report | en |
Appears in Collections: | Pharm - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
SuwannaRapid.pdf | 19.41 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.