Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2147
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สุนันท์ พงษ์สามารถ | - |
dc.contributor.author | วิมลมาศ ลิปิพันธ์ | - |
dc.contributor.author | ธิติรัตน์ ปานม่วง | - |
dc.contributor.author | ไกรสีห์ อัมพรายน์ | - |
dc.contributor.author | เครือวัลย์ เอกรักษาศิลปชัย | - |
dc.contributor.author | นิจศิริ เรืองรังษี | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์. ภาควิชาชีวเคมี | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์. ภาควิชาชีวเคมี | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาเคมีเทคนิค | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาเภสัชอุตสาหกรรม | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์. ภาควิชาชีวเคมี | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาเภสัชเวท | - |
dc.date.accessioned | 2006-08-23T08:27:53Z | - |
dc.date.available | 2006-08-23T08:27:53Z | - |
dc.date.issued | 2544 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2147 | - |
dc.description.abstract | เจลโพลี่แซคคาไรด์ (PG) และเส้นใยโพลี่แซคคาไรด์ (PF) สกัดได้จากเปลือกแห้งของผลทุเรียน (Durio zibethinus L.) ได้สารสกัด PG และ PF ประมาณ 7.3% และ 15.1% ของเปลือกแห้งตามลำดับ การวิเคราะห์ธาตุ พบว่าประกอบด้วย carbon (C) hydrogen (H) และ oxygen (O) ในอัตราส่วนอะตอมเท่ากับ 2.9:5.7:3.2 และ 3.5:6.4:3.1 ใน PG และ PF ตามลำดับและไม่พบมี nitrogen (N) และ sulfur (S) ในโพลี่แซคคาไรด์ทั้งสองชนิด PG มีส่วนประกอบของเส้นใย 96.3+-0.7% ซึ่งไม่พบมีเส้นใยอยู่ใน PF ผลการวิเคราะห์เกลือแร่ใน PG และ PF พบมีองค์ประกอบของโซเดียม โปแตสเซียม แคลเซียม แมกนีเซียม และมีจำนวนน้อยมากของเหล็ก ทองแดงสังกะสีและแมงกานีส องค์ประกอบของน้ำตาลจากการวิเคราะห์ในสารละลาย acid hydrolyzate ของ PG และ PF โดยเทคนิค TLC และ HPLC ให้ผลว่า PG มีส่วนประกอบแสดงให้เห็น spots และ peaks ของน้ำตาลที่ตรงกับน้ำตาลมาตรฐาน rhamonse arabinose fructose glucose และ galacturonic acid พบว่า PF ประกอบด้วย หนึ่ง peak ของน้ำตาลที่ตรงกับน้ำตาลมาตรฐาน glucose ผลของ IR spectra และ X-ray diffraction patterns แสดงให้เห็นว่า PG มี band ของ IR spectrum ที่แตกต่างที่ 1749 cm[superscript -1] (C=O) 1639 cm[superscript -1] (COO) และ 1019-1105 cm[superscript -1] (C-OH) ที่อาจแสดงถึงหมู่ carbonyl ที่ไม่พบอยู่ใน PF พบว่า PG เป็น amorphous powder จากผล X-ray diffraction profiles ขณะที่ PF แสดงให้เห็นเป็น crystalline powder คล้ายกับ cellulose powder พบว่า PG มีขนาดโมเลกุล 500-1,400 kDa จากการตรวจสอบโดยใช้ Sepharose 4B column chromatography การศึกษาคุณสมบัติทางชีวภาพของ PG ให้ผลว่า PG ทนต่อการถูกย่อยด้วยเอนไซม์ alpha-amylase และในความเข้มข้น 2% ของ PG สามารถกักเก็บ cholesterol ได้ถึง 86% ไว้ภายใน dialysis membrane จากการศึกษาในหลอดทดลองเมื่อผสม PG และ cholesterol ร่วมกับเกลือนำดี และทำการ dialyze นาน 10 ชั่วโมง ใน Ringer lactate buffer pH7 และมีเพียง 5% ของ cholesterol ถูกปล่อยออกมาภายนอก dialysis membrane PG มีฤทธิ์การยับยั้งเชื้อที่ทดลอง S. aureus และ E. coli บนจานเลี้ยงเชื้อของอาหารเลี้ยงเชื้อ MNG agar เมื่อมี 1.25% และ 2.5%PG ตามลำดับ จากการทดลอง Agar Diffusion Test โดยเห็นขอบของ inhibition zone ชัดเจน การทดลอง Broth Dilution Test โดยใช้ MN broth ที่มี glucose และที่มี PG ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่า 1%PG ยับยั้งการเจริญของเชื้อ E. coli และ S. aureus พบมี colony count ที่ 24 ชั่วโมงลดลงถึง 0 และ 15% ตามลำดับ ผลการทดลองที่น่าสนใจพบว่า 0.02%PG ใน normal saline ให้ผลเกิดการฆ่าเชื้อ S. aureus และ E. coli พบมี colony count ลดลงถึง 0 หลังการบ่มเชื้อนาน 24 ชั่วโมงที่ 37 องศาเซลเซียส ขณะที่พบมีจำนวนเซลล์ระดับต่ำอยู่ใน normal saline และใน distilled water ที่ใช้เป็น control จากการเก็บเชื้อไว้นานถึง 1 และ 2 สัปดาห์ตามลำดับ ผลการทดลองกับสองสายพันธุ์ของ yeast คือ C. albicans และ S. cerevisiae ไม่ไวต่อการยับยั้งการเจริญโดย PG จากในการทดลองนี้และการใช้ประโยชน์ PG และ PF พบว่ามีประโยชน์ใช้ได้ในการเตรียม เภสัชผลิตภัณฑ์และเตรียมผลิตภัณฑ์อาหาร ได้ผลว่าสารละลายน้ำ 3%PG และสูตรสารผสมของ 2.6%PG กับ 2.7% cellulose derivative polymer (HPMC E15) สามารถใช้เป็นน้ำยาเคลือบในการเคลือบยาเม็ดเคลือบได้ผลที่น่าพอใจ การเตรียมสูตรอาหารโดยใช้ PG ปริมาณ 3% ร่วมกับ 0.5%PF และ 2% fructose พบว่าได้สูตร instant food powder ที่พร้อมผสมน้ำก่อนดื่มที่น่าพอใจ ผลิตภัณฑ์อาหารกระจายตัวและผสมได้รวดเร็วเป็นเนื้อเดียวในน้ำภายใน 5-10 นาที มีเนื้อค่อนข้างเนียน มีตะกอนน้อยมากเมื่อตั้งทิ้งไว้ มีรสเปรี้ยวอมหวานเล็กน้อย มีความหนืด 503 cps. และดื่มได้ง่ายซึ่งอาจเหมาะสำหรับใช้เป็นอาหารทางการแพทย์ประเภทอาหารควบคุมน้ำหนัก | en |
dc.description.abstractalternative | Polysaccharide gel (PG) and polysaccharide fiber (PF) were isolated from dried fruit-hulls of durian (Durio zibethinus L.). PG and PF were obtained 7.3% and 15.1% of dried hulls, respectively. Elemental analysis showed the presence of carbon (C), hydrogen (H) and oxygen (O) in atomic ratio of 2.9:5.7:3.2 and 3.5:6.4:3.1 in PG and PF, respectively. Neither nitrogen (N) nor sulfur (S) was found. PF contained 96.3+-0.7% fiber which was not found in PG. Mineral analysis of PG and PF showed composition of sodium, potassium, calcium, magnesium and traces of iron, copper, zinc and manganese. Sugar components were analyzed from acid hydrolyate of PG and PF by techniques of TLC and HPLC, PG composed of spots and peaks of sugars identical to standard rhamnose, arabinose, fructose, glucose and galacturonic acid. PF showed only one peak of sugar identical to standard glucose. IR spectra and X-ray diffraction patterns showed that PG composed of different bands of IR spectrum at wave number 1749 cm[superscript -1] (C=O),1639 cm[superscript -1] (COO) and 1019-1105 cm[superscript -1] (C-OH) which was indicated that only PG appeared to contain carbonyl group; PG was amorphous powder, whereas PF was crystalline powder according to X-ray diffraction profiles. Average molecular weight of PG appeared in a range 500-1,400 kDa determined by using Sepharose 4B column chromatography. Biological properties of PG were studied, PG appeared to resist to alpha-amylase digestion. PG at 2% concentration trapped upto 86% of cholesterol inside dialysis membrane estimated by technique of semipermeable membrane dialysis, mixing PG and 20 mg. Cholesterol in the presence of bile salts and dialyzed for 10 hours in Ringer lactate buffer at pH7, only 5% of cholesterol was released to outside membrane. PG showed inhibitory activity against tested S. aureus and E. coli on MNG agar according to Agar Diffusion Test, zone margin of inhigition were sharp and clear delineated with PG at 1.25% and 2.5% concentration against S. aureus and E. coli, respectively. Broth Dilution Test was performed using MN broth with glucose and with PG. The results indicated that 1% PG inhibited growth of E. coli and S. aureus, colony counts at 24 hours were declined to zero and 15% count, respectively. It was interesting that 0.02%PG in NSS showed killing effect against S. aureus and E. coli, colony counts were decreased to zero after 24 hours incubation at 37 C, in comparison with low colony counts observed in controls using NSS and distilled water (DW) during incubation as long as 1 and 2 weeks, respectively. Two yeast strains, C. albicans and S. cerevisiae, were not susceptible to PG by this assays. PG and PF were found useful in pharmaceutical and food preparations. PG at 3% concentration and mixture of 2.6% PG with 2.7% cellulose derivative polymer (HPMC E15) produced satisfactory coat in film coated tablet. Food preparation composed of 3%PG with 0.5%PF and 2% fructose showed satisfactory instant food powder preparation that ready to mix with water before drink. Food product was quickly dispersed and homogeneously mixed in water within 5-10 min., and produced rather smooth texture, 503 cps. Viscosity, sour and sweet taste, easy to drink. Food product appeared suitable for medical uses as diet food preparation. | en |
dc.description.sponsorship | ทุนงบประมาณแผ่นดิน คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2542-2543 | en |
dc.format.extent | 16946378 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | โพลิแซคคาไรด์ | en |
dc.subject | เปลือกทุเรียน--วิเคราะห์และเคมี | en |
dc.title | การพัฒนาสารโพลี่แซคคาไรด์จากเปลือกของผลทุเรียน เพื่อใช้ทางการเภสัชกรรม : รายงานการวิจัย | en |
dc.title.alternative | The development of polysaccharides from hulls of durian fruit for pharmaceutical uses | en |
dc.type | Technical Report | en |
dc.email.author | Sunanta.Po@Chula.ac.th | - |
dc.email.author | Vimolmas.L@Chula.ac.th | - |
dc.email.author | Thitirat.P@Chula.ac.th | - |
dc.email.author | Nijsiri.R@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Pharm - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
SunantaDe.pdf | 7.48 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.