Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2164
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | นงลักษณ์ ศรีอุบลมาศ | - |
dc.contributor.author | อารี ลออปักษา | - |
dc.contributor.author | สารี วิรุฬหผล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์. ภาควิชาจุลชีววิทยา | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์. ภาควิชาจุลชีววิทยา | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์. ภาควิชาจุลชีววิทยา | - |
dc.date.accessioned | 2006-08-23T12:14:20Z | - |
dc.date.available | 2006-08-23T12:14:20Z | - |
dc.date.issued | 2534 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2164 | - |
dc.description.abstract | น้ำผึ้งทดสอบ 10 ตัวอย่าง มีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญเติบโตของ Trichophyton mentagrophytes, Microsporum gypseum, และ Epidermophyton flocccosum โดยมีค่าเฉลี่ยเส้นผ่าศูนย์กลางของโซนใสอยู่ในช่วง 19.58 ? 0.29, 17.00 ? 0.61 ถึง 29.62 ? 0.29 และ 20.40 ? 1.59 ถึง 46.36 ? 1.06 มิลิลิตร ตามลำดับ น้ำผึ้งจากต่างประเทศมีฤทธิ์ยับยั้งการเจริญต่ำสุด ในขณะที่น้ำผึ้งตัวอย่างจากจังหวัดชุมพรให้ค่าสูงสุดจากตัวอย่างน้ำผึ้งอื่นๆ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ตัวอย่างน้ำผึ้งทั้งหมดไม่มีผลยับยั้งการเจริญเติบโตของ Aspergillus niger และเชื้อยีสต์ 2 ชนิด Saccharomyces cerevisiae และ Candida albicans เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมซึ่งประกอบด้วยกลูโคส : ฟรักโทส ในอัตราส่วน 1 : 1 พบว่า ไม่มีฤทธิ์ต้านเชื้อทดสอบทุกชนิดในการหาความเข้มข้นต่ำสุดที่สามารถยับยั้งการเจริญเติบโต (MICs) โดยใช้น้ำผึ้ง 2 ตัวอย่าง ได้ค่า MICs ต่อ Trichophyton mentagrophytes เท่ากับ Microsporum gypseum คือ อยู่ในช่วง 10-30 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร ส่วน MIC ต่อเชื้อ Epidermophyton floccosum มีค่า 10-20 -มิลลิกรัม/มิลลิลิตร The antifungal activity of ten honey samples against Trichophyton mentagrophytes, Microsporum gypseum and Epidermophyton floccousum was studied. The average inhibition zones were found to be in the range of 19.58 1.05 to 31.00 0.92, 17.00 0.61 to 29.62 0.29 and 20.40 1.59 to 46.36 1.06 mullimeters, respectively. The imported honey provided the lowest antifungal activity whereas the sample from Chumporn provided the highest activity. All samples had no effect on Aspergillus niger and the two yeasts : Saccharomyces cerevisiae and Candida albicans. The control sugar (Glucose : Fructose in ratio 1 : 1X showed no antifungal effect against all test organisms. The minimal inhibitory concentrations (MICs) of the two selected honey samples against Trichophyton mentagrophytes and Microsporum gypseum were both in the range of 10 - 30 milligrams/milliter while the MICs against Epidermophyton floccosum were in the range of 10 - 20 milligrams/milliliter การศึกษาฤทธิ์ต้านแบคทีเรียของน้ำผึ้ง 10 ตัวอย่าง โดยเปรียบเทียบความแรงกับยาเพนิซิลลิน และเตตราซัยคลิน พบว่า ฤทธิ์ต้านเชื้อ Staphy lococcus aureus ของน้ำผึ้งสมมูลกับเพนิซิลลินความแรง 0.675 - 1.45 หน่วย/มิลลิลิตร และฤทธิ์ต้านเชื้อ Escherichia coli ของน้ำผึ้งสมมูลกับเตตราซัยคลินความแรง <14.7 - 28.1 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร เลือกน้ำผึ้งมา 5 ตัวอย่าง ทีมีฤทธิ์สมมูลกับความแรงของเพนิซิลลินในช่วงต่างๆ ต่อเชื้อ Staphy lococcus aureus นำมาหาค่าความเข้มข้นต่ำสุดที่ยับยั้งการเจริญของเชื้อ Staphy lococcus aureus และ Escherichia coli ชนิดละ 30 สายพันธุ์ รวมทั้งสายพันธุ์มาตรฐาน เชื้อทดสอบส่วนใหญ่เป็นสายพันธุ์ที่ต้านยาปฏิชีวนะ ความเข้มข้นต่ำสุดของน้ำผึ้งที่ยับยั้งการเจริญของเชื่อ Staphy cococcus aureus และ Escherichia coli มีค่าอยู่ระหว่าง 0.1 - 0.3 กรัม/มิลลิลิตร และ 0.15 - 0.35 กรัม/มิลลิลิตร ตามลำดับ สำหรับกลุ่มควบคุมซึ่งประกอบด้วยน้ำตาล 80% คือ กลูโคส : ฟรักโทสในอัตราส่วน 1 : 1 ไม่สามารถยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียได้ จากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าน้ำผึ้งต้วอย่างต่างๆ มีฤทธิ์ต้านแบคทีเรียใกล้เคียงกัน และมีฤทธิ์ต้านแบคทีเรียสายพันธุ์ที่ดื้อยาปฏิชีวนะ Ten samples of honey were studied for the antibiotic equivalent potency. The antibacterial activity of honey was equivalent to 0.675 - 1.45 units/ml of pencillin against Staphylococcus aurenus and to <14.7 - 28.1 mcg/ml of tetracycline against Escherichia coli. Five selected samples, having low to high equivalent potency of penicillin against Staphylococcus aureus, were determined for MICs against 30 strains of Staphylococcus aureus and Escherichio coli including standard strains. Most strains were antibiotic - resistant organisms. The MICs against Staphylococcus sureus and Escherichia coli of honey samples were 0.1 - 0.3 g/ml and 0.15 - 0.35 g/ml, respectively. For control solution containing 80% of glucose and fructose in the ratio of 1 : 1, the growth of test organisms was not inhibited. Our study showed that the various samples of honey had approximately the same antibacterial activity. น้ำผึ้ง 10 ตัวอย่าง และกลุ่มควบคุมซึ่งประกอบด้วยน้ำตาล 80% โดยมีกลูโคสและฟรักโทสในอัตราส่วน 1 : 1 ทำให้ร้อนที่อุณหภูมิ 63 องศาเซียเซียส, 80 องศาเซียเซียส, 100 องศาเซียเซียส และ 121 องศาเซียเซียส เป็นเวลา 30 นาที วัดความหนืด และหาฤทธิ์ด้านแบคทีเรียโดยวิธีดัดแปลงจาก disc susceptibility test ตัวอย่างน้ำผึ้งที่ไม่ได้ทำให้ร้อน มีความหนืดแตกต่างกันมาก คือ ระหว่าง 80.43 - 7,507.77 cps แต่เส้นผ่าศูนย์กลางของโซนใส่เชื้อไม่ขึ้นของน้ำผึ้งส่วนใหญ่แตกต่างกัน ความร้อนมีผลต่อ ฤทธิ์ต้านแบคทีเรียของน้ำผึ้ง โดยเฉพาะความร้อนที่อุณหภูมิ 100 องศาเซียเซียส และ 121 องศาเซียเซียส ผลนี้อาจเกิดจากการที่ความร้อนทำลายสารต้านแบคทีเรียบางชนิดในน้ำผึ้ง ความร้อนทำให้น้ำผึ้งมีความหนืดมากขึ้น อย่างไรก็ตามความหนืดไม่มีความสัมพันธ์กับฤทธิ์ต้านแบคทีเรียของน้ำผึ้ง | en |
dc.description.abstractalternative | Ten samples of pure honey and one sample of control solution containing 80% of glucose and fructose in the ration of 1 : 1 were heated at the temperature of 63 C, 80 C, 100, and 121 C for 30 minutes. Each sample was then determined for viscosity and also for antibacterial activity using modified disc susceptibility test. Although the viscosity of the untreated honey samples varied from 80.43 cps to 7,507.77 cps, the diameters of the inhibition zone of most untreated honey samples were not different. The antibacterial activity of honey was affected by temperatures particularly at 100 C and 121 C. This might result from the heat degradation of some antibacterial substances in honey. Viscosity of honey sample increased when heated them at various temperatures. However, the viscosity did not correlate to antibacterial activity of honey. | en |
dc.format.extent | 11254510 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | น้ำผึ้ง | en |
dc.subject | สารต้านจุลชีพ | en |
dc.title | ฤทธิ์ต้านจุลชีพของน้ำผึ้ง | en |
dc.title.alternative | The antimicrobial action of honey | en |
dc.type | Technical Report | en |
dc.email.author | Nongluksna.S@Chula.ac.th | - |
dc.email.author | Areerat.L@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Pharm - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Nonglak(anti).pdf | 5.08 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.