Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2172
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุนันท์ พงษ์สามารถ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์. ภาควิชาชีวเคมี-
dc.date.accessioned2006-08-24T09:29:51Z-
dc.date.available2006-08-24T09:29:51Z-
dc.date.issued2532-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2172-
dc.descriptionเป็นผลงานจากการไปปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มพูนความรู้ทางวิชาการ ตุลาคม 2531-กันยายน 2532en
dc.description.abstractสกัดสารคาร์โบไฮเดรตจากเปลือกทุเรียน (Durio zibethinus Linn.) เป็น 2 fraction คือ crude fraction (F I) ได้จากการตกตะกอย aqueous extract จากเปลือกทุเรียนสดด้วย 60% alcohol และ purified fraction (F II) ได้จากการทำ crude extract ซึ่งเตรียมจากการตกตะกอน acid-alcohol ของ aqueous extract จากเปลือกทุเรียนสดมาทำให้บริสุทธิ์โดยตกตะกอนซ้ำด้วย alcohol การสกัดตามวิธีทั้งสองจะให้ F I 2.18% และ F II 1.03% ตามลำดับ สารสกัดเปลือกทุเรียนมีลักษณะเป็นของแข็ง ผงของสารมีรูปร่างไม่แน่นอน พบมีรูปร่างเป็นก้อนกลมและเป็นไฟเบอร์จากการดูด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบ scanning F I เป็นผงสีน้ำตาลอ่อน F II เป็นผงสีขาวนวล มีกลิ่นเฉพาะ มีรสเปรี้ยวอมขม จากการทำ spray dried ของ F II จะได้เป็นผงละเอียดสีขาด ไม่มีรสขม เมื่อดูด้วยกล้อมจุลทรรศน์อิเลกตรอนแบบ scanning จะเห็นรูปร่างคล้ายฟองอากาศกลมกลวง ผงของสารสกัดเปลือกทุเรียนจะพองตัวได้ในน้ำให้เป็นของเหลวข้นหนืด สารละลาย 3% ในน้ำของ F I ค่อนข้างขุ่นสีน้ำตาลอ่อน มีความหนืด 130.6 cps และมี pH 5.8 ส่วน F II จะค้อนข้างใสไม่มีสี มีความหนืด 207.6 cps และมี pH 2.8 สารสกัดเปลือกทุเรียนมีจุดสลาย (decompose) ที่ 174-176 องศาเซลเซียส F I ประกอบด้วยสารคาร์โบฮัยเดรต 9.20% เทียบกับกลูโคส มีความชื้น 9.10% และมีเถ้า 54.76% ส่วน F II ประกอบด้วยสารคาร์โบฮัยเดรต 9.49% เทียบกับกลูโคส มีความชื้น 12.00% และมีเถ้า 41.45% ไม่พบมีเส้ยใยอาหาร (crude fiber) ในสารสกัดเปลือกทุเรียน การวิเคราะห์ธาตุในสารสกัดเปลือกทุเรียนพบมี carbon (C) 19.33% มี hydrogen (H) 2.72% ใน F I และพบมี carbon 22.89% และ hydrogen 3.24% ใน F II ไม่มี nitrogen (N) พบอยู่ในสารสกัดเปลือกทุเรียนเลย การวิเคราะห์คุณสมบัติทางเคมีของสารสกัดเปลือกทุเรียนได้ทำการทดลองพบว่าแสดงคุณสมบัติเป็นสารคาร์โบฮัยเดรตกับ Molisch's test และ Anthrone test แสดงปฏิกิริยาเป็นสาร glycuronate กับ Tollen's napthoresorcinol แสดงคุณสมบัติเป็นสาร polysaccharide กับน้ำยา iodine โดยให้สารสีม่วง-แดง ไม่พบสารreducing sugar เมื่อทำปฏิกิริยา Fehling's test พบว่าสารละลายที่ได้จากการทำ acid hydrolysis ของสารสกัด F I และ F II เท่านั้นที่จะแสดงคุณสมบัติเป็นสาร reducing sugar ได้แต่จะสูญเสียคุณสมบัติการเกิดสีกับน้ำยา iodine ไป สารสกัดเปลือกทุเรียนแสดงคุณสมบัติของสาร polyuronide โดยการเกิดเป็นเจลกับสารละลายเกลือของโลหะหนักและแอลกอฮอล์ สายยาว polysaccharide ของสารสกัดเปลือกทุเรียนจะถูกย่อยได้ด้วยเอนไซม์ amylase จากน้ำลายได้เป็นโมเลกุลสานสั้นลงจนไม่เกิดสีกับ iodine อย่างไรก็ดีการย่อยด้วย amylase จะไม่ย่อยได้หมดอย่างสมบูรณ์จนเป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว ส่วนประกอบของน้ำตาลใน polysaccharide ของสารสกัดเปลือกทุเรียนได้ตรวจสอบด้วยเครื่อง HPLC สารสกัด F I ประกอบด้วยน้ำตาย 4 ชนิด ที่พบว่าตรงกับ standard rhamnose arabinos fructose และ glucose ในสัดส่วน 2:2:1:18 ในขณะที่ F II ประกอบด้วยน้ำตาล 3 ชนิด ที่พบว่าตรงกับ standard rhamnose arabinose และ glucose ในสัดส่วน 1:1:3 การวิเคราะห์เกลือแร่ในสารสกัดเปลือกทุเรียนพบมี K 5.64 %ใน F I และ 2.21% ใน F II มี Ca 0.70% ใน F I และ 1.02% ใน F II พบมี Na และ Mg อยู่ใน F I มากกว่าใน F II แร่ธาตุอื่น ๆ ที่พบได้แก่ Al Fe Mn Si Zn และ Cu มีในปริมาณเล็กน้อย พบ Pb น้อยกว่า 0.08 cps ไม่พบมี As ในสารสกัดเปลือกทุเรียน การศึกษาการใช้สารสกัดเปลือกทุเรียนเป็นสารแขวนตะกอนในยาน้ำแขวนตะกอน พบว่าสารสกัดเปลือกทุเรียนสามารถใช้เตรียมยาน้ำแขวนตะกอน Kaolin Mixture with Pectin ได้ผลที่น่าพอใจ ยาเตรียมมีความคงตัวดีและผงยากลับกระจายตัวได้ดี หลังจากตั้งทิ้งไว้นาน 60 วัน สารสกัดเปลือกทุเรียนไม่สามารถใช้แทนสาร CMC ในตำรับยา Calamine Lotion พบมีการเกิดเจลขึ้นหลังจากตั้งทิ้งไว้ 30 วัน และไม่กลับกระจายตัวเมื่อเขย่าอย่างแรงen
dc.description.abstractalternativeCarbohydrate extracts from Durian (Durio zibethinus Linn.) rind were prepared in 2 fractions. Crude fraction (F I) was 60% alcohol precipitated from aqueous extract of fresh Durian rind (mesocarp). Purified fraction (F II) was purified by alcohol re-precipiatation of aqueous crude extract from acid-alcohol precipitation of aqueous extract of Durian rind. Preparation from these two methods gave 2.18% and 1.03% yield of F I and F II, respectively. Durian rind extracts were solid, amorphous powder, round and fiber shape were seen under scanning electron microscope. F I was light-brown in color, F II was creamy-white power. It had specific odor, sour and bitter tastes. F II from spray dried preparation was white fine powder, no bitter tastes, bubble-like shape was seen under scanning electron microscope. Powder of Drian rind extractes were swelled in water to give viscous liquid. Three percent preparation in water of F I was not a clear liquid, pale-brown in color, its viscosity was 130.6 cps and pH 5.8, where as F II was a colorless clear liquid, its viscosity was 207.6 cps and pH 2.8. Durian rind extracts were decomposed at 174-176 celcius degree. F I composes of carbohydrate 9.20% express as glucose, moisture 9.10% and ash 54.76%. F II composed of carbohydrate 9.49% express as glucose, moisture 12.00% and ash 41.45% Crude fiber was not found in Durian rind extracts. Elemenntal analysis of Durian rind extracts were found carbon (c) 19.33%, hydrogen (H) 2.72% in F I and found carbon 22.89%, and hydrogen 3.24% in F II. Nitrogen (N) was not existed in Durian rind extracts. Chemical analysis of Durian rind extracts were determined. Chemical property of carbohydrate was observed with Molisch's test and Anthrone test. Its showed reaction of glycuronate with Tollen's napthorescorcinol. Property of polysaccharide was observed with iodine solution giving purple-red color. No reducing sugar test was observed with Fehling's test. Only solution obtained from acid hydrolysis of F I and F II extracts showed reducing sugartest but lost their color formation with iodine. Durian rind extracts showed polyuronides property by forming gel precipitation with heavy metal solution and alcohol. Long chain polysacchrides of Durian rind extracts were hydrolysed by saliva amylase into short chain molecule that lose their color with iodine. However, digestion with amylase was not completed to give monosaccharids. Sugar components in polysaccharide of Durian rind extracts were determine by HPLC technique. F I composed of 4 monosaccharides indentacl yo standard rhamnose, arabinose, fructose and hlucose in 2:2:1:18 ratio. F II composed of 3 monosaccarides identical to standard rhamnose, arabinose and glucose in 1:1:3 ratio. Mineral analysis of Durian rind extracts showed high content of K 5.64% in F I and 2.21% in F II, ca 0.70% in F I and 1.02% in F II. Na and Mg were found in F I much more than F II. Other elements such as Al, Fe, Mn, Si Zn and Cu were low. Pb less than 0.08 ppm. Was found. Arsenic was not present in Durian rind extracts.Use of Durian rind extracts as suspending agent in suspension was studied. Durian extracts could be used satisfactorily in suspension of Kaolin Mixture with Pectin NF XIII. Good stability and redispersibility were observed after 60 days storage. Durian rind extracts could not be used in replacing CMC in Calamine Lotion. Gel formation was observed after 30 days storage and red redisperibility was fail after vigorpusly shake.en
dc.description.sponsorshipกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช (บางส่วน)en
dc.format.extent23525090 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสารแขวนตะกอนen
dc.subjectเปลือกทุเรียนen
dc.subjectคาร์โบฮัยเดรตen
dc.titleการศึกษาสารสกัดคาร์โบฮัยเดรตจากเปลือกทุเรียนเพื่อใช้เป็นสารแขวนตะกอนen
dc.title.alternativeStudies on carbohydrate extracts of durian rind as suspending agenten
dc.typeTechnical Reporten
dc.email.authorSunanta.Po@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Pharm - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sunan(Car).pdf11.96 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.