Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22792
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชยากริต ศิริอุปถัมภ์
dc.contributor.authorอาคม สันติรณนรงค์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-10-21T19:03:56Z
dc.date.available2012-10-21T19:03:56Z
dc.date.issued2529
dc.identifier.isbn9745667234
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22792
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529en
dc.description.abstractได้ทดลองผลิตเชื้อเพลิงยูเรเนียม ไดออกไซด์ โดยวิธีโลหะวิทยาแบบผงอัด และผลิตผ่านสารประกอบ แอมโมเนียม ไดยูเรเนต พบว่าเงื่อนไขที่ดีที่สุดในการเตรียมตะกอนของแอมโมเนียม ไดยูเรเนต คือใช้สารรละลายยูเรนิลไนเตรดเข้มข้น 120 กรัมยูเรเนียม ต่อลิตร ทำปฏิกิริยาอย่างต่อเนื่องกับสารละลายแอมโมเนียมไฮดรอกไซด์เข้มข้น 27 เปอร์เซ็นต์ โดยน้ำหนัก ควบคุมอุณหภูมิไว้ที่ 50 องศาเซลเซียส และค่าความเป็นกรดเป็นด่างของปฏิกิริยาไว้ที่ 8.0 แล้วนำตะกอนที่ได้ไปอบให้แห้งที่อุณหภูมิ 110 องศาเซลเซียส นาน 36 ชั่วโมง นำมาเผาในบรรยากาศที่อุณหภูมิ 350 องศาเซลเซียส นาน 8 ชั่วโมง จะได้ผงยูเรเนียมไตรออกไซด์ นำไปรีดิวช์ที่อุณหภูมิ 630 องศาเซลเซียส นาน 20 ชั่วโมงในบรรยากาศของไฮโดรเจน/อาร์กอน จะได้ผงยูเรเนียมไดออกไซด์ แล้วนำเอาผงยูเรเนียมไดออกไซด์ที่ได้นี้มาอัดเม็ด โดยใช้ ไนโอเบียมออกไซด์ 0.3 เปอร์เซ็นต์ โดยน้ำหนักเป็นตัวประสาน และใช้กรดสเทียริก 0.2 เปอร์เซ็นต์ โดยน้ำหนัก เป็นตัวหล่อลื่น โดยอัดด้วยแรง 5 ตันต่อตารางเซนติเมตร จากนั้นทำการเผาประสานที่อุณหภูมิ 1200 องศาเซลเซียส ในบรรยากาศของไฮโดรเจน/อาร์กอน/คาร์บอนไดออกไซด์ นาน 20 ชั่วโมง ก็จะได้เม็ดเชื้อเพลิงยูเรเนียม ไดออกไซด์ ที่มีความหนาแน่ 90.05 เปอร์เซ็นต์ของค่าความหนาแน่นทางทฤษฎีและมีค่าอัตราส่วนของออกซิเจน และยูเรเนียม เท่ากับ 2.03
dc.description.abstractalternativeA production process for uranium dioxide fuel pellets by powder metallurgical method via ammonium diuranate was developed. The optimum conditions to produce ammonium diuranate precipitates were found to be : 120 gU/l uranyl nitrate solution reacted continuously with 27% ammonium hydroxide solution, the final pH was controlled at 8.0 and temperature of 50℃. The precipitates were dried at 110℃ for 36 hrs and then calcined in air to produce UO3 at 350℃. UO3 was then reduced in Hydrogen/Argon for hrs at 630℃ to produce UO2 powder which was subsequently pressed (after thouroughly mixed with 0.3% by weight Nb2O5 as binder and 0.2% by weight stearic acid as lubricant) to compact pellets at 5 ton/cm2. Sintering of the compacted pellets was done at 1200℃ for 20 hrs in Hydrogen/Argon and Carbondioxide atmosphere. The sintered UO2 pellets obtained gave density of 90.05 percent of the theoretical density with O/U ratio of 2.03.
dc.format.extent460044 bytes
dc.format.extent368354 bytes
dc.format.extent1108077 bytes
dc.format.extent720115 bytes
dc.format.extent793649 bytes
dc.format.extent352148 bytes
dc.format.extent791222 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการพัฒนากระบวนการผลิตเม็ดยูเรเนียมไดออกไซด์ โดยวิธีโลหะวิทยาแบบผงอัดen
dc.title.alternativeDevelopment of a production process for uranium dioxide pellets by powder matallurgy methoden
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
arkom_sa_front.pdf449.26 kBAdobe PDFView/Open
arkom_sa_ch1.pdf359.72 kBAdobe PDFView/Open
arkom_sa_ch2.pdf1.08 MBAdobe PDFView/Open
arkom_sa_ch3.pdf703.24 kBAdobe PDFView/Open
arkom_sa_ch4.pdf775.05 kBAdobe PDFView/Open
arkom_sa_ch5.pdf343.89 kBAdobe PDFView/Open
arkom_sa_back.pdf772.68 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.