Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23759
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารยะ ศรีกัลยาณบุตร
dc.contributor.authorสุเทพ จ้อยศรีเกตุ
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned2012-11-11T09:53:12Z
dc.date.available2012-11-11T09:53:12Z
dc.date.issued2544
dc.identifier.isbn9740309976
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23759
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาวิเคราะห์วิธีการสร้างสรรค์ภาพอุปมาอุปไมยในงานออกแบบโปสเตอร์ เพื่อกำหนดแหล่งที่มาที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์และกำหนดรูปแบบมาตรฐานการนำเสนอภาพอุปมาอุปไมยในงานออกแบบโปสเตอร์ในประเทศไทย โดยศึกษาตามแนวทางทฤษฏีของ ชาร์ล ฟอร์ชวิล (Charles Forceville) ซึ่งจะทำให้ทราบถึงรูปแบบและแนวทางการสร้างสรรค์ภาพอุปมาอุปไมยในอนาคตต่อไป ระเบียบวิธีในการวิจัยที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ การวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) โดยผู้วิจัยจะคัดเลือกกลุ่มตัวอย่าง เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ภาพโปสเตอร์ที่มีลักษณะเป็นอุปมาอุปไมยจากผลงานที่เข้ารอบ Tact Award และผลงานในนิตยสาร Graphis Poster ระหว่างปี ค.ศ. 1989-1999 จำนวนทั้งสิ้น 95 ชิ้น โดยการวิเคราะห์จะแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ ดังนี้ 1. วิเคราะห์ความหมายที่ต้องการอุปมาอุปไมยถึงในงานโปสเตอร์ 2. วิเคราะห์ถึงแหล่งที่มาที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ภาพอุปมาอุปไมย 3. วิเคราะห์รูปแบบการนำเสนอภาพอุปมาอุปไมยในงานออกแบบโปสเตอร์ หลังจากการวิเคราะห์และหาข้อสรุปแล้ว จึงนำผลของการวิจัยมาเป็นฐานข้อมูลในงานออกแบบต่อไป ผลการวิจัยพบว่า 1. แหล่งที่มาที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ภาพอุปมาอุปไมย มีการใช้แหล่งที่มาในส่วนของการตีความโดยมีนัยแฝงมากที่สุด 1.1 โฆษณาประเภทตัวสินค้า มีการใช้แหล่งที่มาในส่วนของการตีความโดยมีนัยแฝงมากที่สุด 1.2 โฆษณาประเภทธุรกิจบริการ มีการใช้แหล่งที่มาในส่วนของการตีความโดยมีนัยแฝงมากที่สุด 1.3 โฆษณาประเภทส่งเสริมภาพพจน์องค์กร มีการใช้แหล่งที่มาในส่วนของวัฒนธรรมมากที่สุด 1.4 โฆษณาประเภทส่งเสริมสังคม มีการใช้แหล่งที่มาในส่วนของวาทกรรมมากที่สุด 2. รูปแบบการนำเสนอภาพอุปมาอุปไมยมีการใช้รูปแบบการนำเสนอแบบ 2 ภาพสื่อความหมายมากที่สุด 2.1 โฆษณาประเภทตัวสินค้า มีการใช้รูปแบบการนำเสนอแบบ 2 ภาพสื่อความหมายมากที่สุด 2.2 โฆษณาประเภทธุรกิจบริการ มีการใช้รูปแบบการนำเสนอแบบ 2 ภาพสื่อความหมายมากที่สุด 2.3 โฆษณาประเภทส่งเสริมภาพพจน์องค์กร มีการใช้รูปแบบการนำเสนอแบบ 2 ภาพสื่อความหมายมากที่สุด 2.4 โฆษณาประเภทส่งเสริมสังคม มีการใช้รูปแบบการนำเสนอแบบภาพเดียวสื่อความหมายที่สุด นอกจากนี้ ยังพบว่ามีแหล่งที่มาที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์และรูปแบบการนำเสนอภาพอุปมาอุปไมยเพิ่มมากขึ้นจากอดีต
dc.description.abstractalternativeThis research study aimed to analyse the creativity pictorial metaphor in poster design that method infliction on the on the influential source of the creativity and the using Charles Forceville’s theory. It showed the way to form and create the pictorial metaphor in the future. The Process of research method is content analysis. The samples are chosen by the researcher in order to analyse that pictorial has a character of metaphor in Thailand by TACT Award’s contest products and Graphis Poster magazine’s products between B.E. 1989-1999, amounted 95 pieces dividing in to 3 main groups as follows: 1. The meaning analysis of the pictorial metaphor in poster design. 2. The influential analysis of the creativity pictorial metaphor. 3. The presentation form analysis of the pictorial metaphor in poster design. When the analysis and conclusion was completed the results of this research will be used as basis of the future creativity pictorial in poster design. The results are as follows. 1. The influential source of the creativity metaphor came from the most connotation. 1.1 The product advertising came from the most connotation. 1.2 The service advertising came from the most connotation. 1.3 The corporate advertising came from the most culture. 1.4 The public service advertising came from the most discourse. 2. The presentation of pictorial metaphor from the most pictorial metaphor with two pictorially present terms. 2.1 The product advertising came from the most pictorial metaphor with two pictorially present terms. 2.2 The service advertising came from the most pictorial metaphor with two pictorially present terms. 2.3 The corporate advertising came from the most pictorial metaphor with two pictorially present terms. 2.4 The public service advertising came from the most pictorial metaphor with on pictorially present terms. Besides the researcher found that the influential source of the creativity pictorial metaphor was increased from the past.
dc.format.extent9830556 bytes
dc.format.extent2954873 bytes
dc.format.extent26055873 bytes
dc.format.extent8820623 bytes
dc.format.extent85121960 bytes
dc.format.extent8164516 bytes
dc.format.extent11829445 bytes
dc.format.extent3881561 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการสร้างสรรค์ภาพอุปมาอุปไมยในงานออกแบบโปสเตอร์en
dc.title.alternativeThe creativity of pictorial metaphor in poster designen
dc.typeThesises
dc.degree.nameศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนฤมิตศิลป์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Fine Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Suthep_jo_front.pdf9.6 MBAdobe PDFView/Open
Suthep_jo_ch1.pdf2.89 MBAdobe PDFView/Open
Suthep_jo_ch2.pdf25.45 MBAdobe PDFView/Open
Suthep_jo_ch3.pdf8.61 MBAdobe PDFView/Open
Suthep_jo_ch4.pdf83.13 MBAdobe PDFView/Open
Suthep_jo_ch5.pdf7.97 MBAdobe PDFView/Open
Suthep_jo_ch6.pdf11.55 MBAdobe PDFView/Open
Suthep_jo_back.pdf3.79 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.