Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24053
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ศักดิ์ศรี แย้มนัดดา | - |
dc.contributor.advisor | คมคาย นิลประภัสสร | - |
dc.contributor.advisor | วัชรี รมยะนันทน์ | - |
dc.contributor.author | ลัลลนา ศิริเจริญ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-14T05:11:52Z | - |
dc.date.available | 2012-11-14T05:11:52Z | - |
dc.date.issued | 2525 | - |
dc.identifier.isbn | 9745612081 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24053 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (อ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525 | en |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์นี้มีจุดมุ่งหมายที่จะศึกษาทฤษฎีการประพันธ์ในอลังการศาสตร์ของอินเดีย ความเป็นมาของอลังการศาสตร์ ลักษณะของอลังการและรสต่างๆ ในการประพันธ์ของสันสกฤต เพื่อนำหลักเกณฑ์มาวิเคราะห์ความงามในมหาชาติคำหลวง 13 กัณฑ์ ว่ามีความงามตรงตามทฤษฎีการประพันธ์ในอลังการศาสตร์ของสันสกฤตหรือไม่ วิทยานิพนธ์นี้แบ่งออกเป็น 6 บท บทแรกกล่าวถึงความเป็นมาของมหาชาติคำหลวง ในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ บทที่ 2 เป็นการศึกษาการประพันธ์ในอลังการศาสตร์ฉบับต่างๆ ความเป็นมาของอลังการศาสตร์ ทฤษฎีการใช้ภาษาลักษณะของคำประพันธ์ ลักษณะของอลังการในคำประพันธ์ซึ่งได้แก่อลังการฝ่ายเสียงที่เรียกว่าศัพทาลังการ และอลังการฝ่ายความหมายที่เรียกว่าอรรถาลังการและรสในการประพันธ์ บทที่ 3 วิเคราะห์ศัพทาลังการในมหาชาติคำหลวง บทที่ 4 วิเคราะห์อรรถาลังการในมหาชาติคำหลวง บทที่ 5 วิเคราะห์รสวรรณคดีในมหาชาติคำหลวง บทที่ 6 เป็นบทสรุปและข้อเสนอแนะ ผลของการวิจัยสรุปได้ว่า กลวิธีการแต่งอันได้แก่ การตกแต่งฝ่ายเสียง (ศัพทาลังการ) การตกแต่งฝ่ายความหมาย (อรรถาลังการ) และรสวรรณคดีทำให้มหาชาติคำหลวงมีความงาม ความไพเราะตรงตามหลักเกณฑ์ของอลังการศาสตร์ของอินเดียเป็นส่วนใหญ่ นอกจากนี้ผู้วิจัยยังได้พบว่า มหาชาติคำหลวงมีความงามอันเป็นเอกลักษณ์ของวรรณคดีไทยอีกด้วย ความงดงามเหล่านี้เป็นเครื่องแสดงถึงความสามารถและความตั้งใจในการประพันธ์ของกวี และเป็นเหตุสำคัญประการหนึ่งที่ทำให้มหาชาติคำหลวงเป็นวรรณคดีที่ยิ่งใหญ่ของไทย | - |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this thesis is to study the poetical theory and origin of Indian Alañkãrasãstra, the characteristics of the ‘Alnkāra’ (poetical ornament) and the ‘rasa’ (literary flavor) of Sanskrit poetry in order to find criteria for the analysis of “beauty” in the thirteen cantos in Mahāchāt Kharnluang to see if the beauty of this poetic work corresponds with the beauty found in Indian Alankārasāstra or not. The thesis is divided into six chapters, the first of which deals with history of Mahāchāt Kharnluang composed in the reign of King Boromatrailokanath. The second is the study of the poetical theory in the various versions of Alankāraśāstra, the origin of Alankāraśāstra, the language, the poetical forms, the poetical ornament which is constituted of sound ornament called “śabdālfinkāra” and meaning ornaoent called “arthālnkāra”, and poetical flavor. The third and fourth chapters are the analyses of “śabdālankāra” and “arthālankāra” respectively. Chapter five analyzes the literary flavor in Mahāchāt. Kharnluang and chapter six presents the conclusion of the thesis and gives suggestions for further studies. The finding is that Mahāchāt Kharnluang’s aesthetic beauty, enriched by its sound and meaning adornments and also by literary flavor, mostly coincides with the criteria in Alankāraśāstra. It is also found that Mahāchāt Kharnluang contains beauty composed of unique characteristics of Thai Literature. This twofold (i.e. Indian and Thai) beauty verifies the poet’s ability and intention and also is a major factor that makes Mahāchāt Kharnluang one of the great masterpieces in Thai Literature. | - |
dc.format.extent | 543546 bytes | - |
dc.format.extent | 379044 bytes | - |
dc.format.extent | 4020197 bytes | - |
dc.format.extent | 2167455 bytes | - |
dc.format.extent | 3236336 bytes | - |
dc.format.extent | 2407050 bytes | - |
dc.format.extent | 332242 bytes | - |
dc.format.extent | 4158716 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | อลังการในมหาชาติคำหลวง | en |
dc.title.alternative | Alankarn in Mahachat Khamluang | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | อักษรศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | ภาษาไทย | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Lallana_Si_front.pdf | 530.81 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Lallana_Si_ch1.pdf | 370.16 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Lallana_Si_ch2.pdf | 3.93 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Lallana_Si_ch3.pdf | 2.12 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Lallana_Si_ch4.pdf | 3.16 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Lallana_Si_ch5.pdf | 2.35 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Lallana_Si_ch6.pdf | 324.46 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Lallana_Si_back.pdf | 4.06 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.