Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36161
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารยะ ศรีกัลยาณบุตร-
dc.contributor.authorอัศม์เดช ลิมตระการ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-10-15T06:43:53Z-
dc.date.available2013-10-15T06:43:53Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36161-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อระบุกลยุทธ์ที่เหมาะสมในการใช้โฆษณาสินค้า รองเท้ากีฬาสำหรับวัยรุ่นไทย และ เพื่อหาแนวทางในการออกแบบโฆษณาสำหรับสินค้า รองเท้ากีฬาสำหรับวัยรุ่นไทย ในการศึกษานี้ มีระเบียบวิธีการวิจัยคือ การวิจัยเชิงคุณภาพและ เชิงปริมาณ ผู้วิจัยได้คัดเลือกตัวอย่างงานโฆษณารองเท้ากีฬาที่ถูกเผยแพร่จริงในระยะเวลาไม่ เกิน 10 ปี เพื่อให้วัยรุ่นไทยจำนวน 250 คน ซึ่งถูกสุ่มให้เป็นตัวอย่าง เพื่อคัดกรองหางาน ออกแบบโฆษณาที่ดึงดูดใจ โดยวิธีการตอบแบบสอบถาม ผู้วิจัยได้รับตัวอย่างงานโฆษณามา จำนวน 200 ชิ้น หลังจากนั้นให้ผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์การทำงานในสาขาที่เกี่ยวข้องกับ การสร้างสรรค์ จำนวน 7 ท่าน แสดงความคิดเห็นต่องานโฆษณาเหล่านั้น โดยการตอบ แบบสอบถามให้เลือกประเภทของต้นแบบของแบรนด์ (brand archetype) ในงานโฆษณาดัง กล่าว และให้เลือกประเภทของสิ่งดึงดูดใจ (appeal) ที่ใช้ และการใช้ภาพประกอบในงาน โฆษณาเหล่านั้น เพื่อทอสอบสมมุติฐานการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า มีการใช้ต้นแบบของแบรนด์ที่เหมาะสมที่จะใช้กำหนดกลยุทธ์ 3 ประเภท คือ วีรบุรุษ ผู้สร้าง และ กบฏ ซึ่งกำหนดให้เป็นตัวแปรต้น และตัวแปรตามที่เหมาะ สมในส่วนของการกำหนดกลยุทธ์คือ สิ่งดึงดูดใจ และในส่วนของแนวทางในการออกแบบคือ ภาพประกอบโฆษณา นั้น พบว่า ต้นแบบประเภทวีรบุรุษ มีการเลือกใช้สิ่งดึงดูดใจแบบบุคคลที่ มีชื่อเสียงหรือผู้ใช้จริงมากที่สุด และใช้ภาพประกอบการเล่าเรื่องมากที่สุด ส่วนต้นแบบประเภท ผู้มีความคิดสร้างสรรค์ มีการเลือกใช้สิ่งดึงดูดใจแบบ ประสาทสัมผัสทั้ง 5 มากที่สุด และใช้ ภาพประกอบการเล่าเรื่องมากที่สุด ขณะที่ต้นแบบประเภทกบฏ มีการเลือกใช้สิ่งดึงดูดใจแบบ ประสาทสัมผัสทั้ง 5 มากที่สุด และใช้ภาพประกอบแบบการเปลี่ยนมุมมองมากที่สุดen_US
dc.description.abstractalternativeThis thesis presents an appropriate advertisement strategy and creative advertising design for youth athletic footwear in Thailand. Through quantitative and qualitative methodology, the study examines a number of athletic shoes advertisements in the past 10 years for their attractiveness, and thus effectiveness. In this process, a sample of 250 Thai teenagers was surveyed for their response towards the advertisements. The 200 selected advertisements were then reviewed by a panel of 7 experts who have a substantial amount of work experience in creative design. Each expert reviewed and provided his comments on the advertisements through a questionnaire, which focuses on analyzing archetype of the athletic shoe brands, appealing objects, and the use of visual aids (illustration) in those advertisements. The study reveals 3 types of brand archetypes – The Hero, The Creator, The Outlaw – which becomes the independent variable in our research. Dependent variables are appealing objects and illustrating objects. The result demonstrates that the Hero archetype is associated Stars appeals and testimonial and telling stories image most. The Creator archetype goes along with the sensory appeals and telling stories image most. Finally the Outlaw archetype is related to the sensory appeals and changes of perspective image most.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.313-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมรองเท้า -- การตลาดen_US
dc.subjectรองเท้ากีฬา -- การตลาดen_US
dc.subjectโฆษณา -- การออกแบบen_US
dc.subjectFootwear industry -- Marketingen_US
dc.subjectAthletic shoes -- Marketingen_US
dc.subjectAdvertising -- Designen_US
dc.titleการออกแบบสร้างสรรค์โฆษณารองเท้ากีฬาสำหรับวัยรุ่นไทยen_US
dc.title.alternativeAthletic footwear advertising creative design for Thai teenagersen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนฤมิตศิลป์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorAraya.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.313-
Appears in Collections:Fine Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
asadej_li.pdf2.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.