Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36701
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิชชุตา วุธาทิตย์-
dc.contributor.advisorสถาพร สนทอง-
dc.contributor.authorอักษราวดี เสียงดัง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-11-21T04:28:00Z-
dc.date.available2013-11-21T04:28:00Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36701-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา วิเคราะห์เอกลักษณ์ไทยและบทบาทที่มีต่อสังคมไทย ในการแสดงวิจิตรนาฏกรรมเทิดพระเกียรติพระมหาชนก ณ ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550 เพื่อค้นหาแนวทางการสร้างสรรค์การแสดงนาฏยศิลป์ไทยร่วมสมัยที่เชิดชูเอกลักษณ์ไทย และให้แง่คิดที่ดีต่อสังคมไทย โดยพิจารณาข้อมูลจากเอกสารและการสัมภาษณ์ ผลการวิจัยพบว่า แนวทางการสร้างสรรค์การแสดงนาฏยศิลป์ไทยร่วมสมัยที่เชิดชูเอกลักษณ์ไทย และให้แง่คิดที่ดีต่อสังคมไทย ควรประกอบด้วย 1)บทละครภาษาไทย ประพันธ์โดยคนไทย เนื้อเรื่องเกี่ยวเนื่องกับวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อต่างๆ ของคนไทยในอดีตถึงปัจจุบัน 2)ลีลาท่าทางที่มีพื้นฐานมาจากท่ารำไทย ได้รับแรงบันดาลใจจากภาพจิตรกรรมไทย สื่อความหมายเชิงสัญลักษณ์แบบนาฏยศิลป์ไทย 3)เครื่องแต่งกายแบบไทย นุ่งห่มด้วยวิธีแบบไทยเดิม หรือใช้ผ้าไทยในการตัดเย็บ และใช้เครื่องประดับแบบไทยเดิม 4)ทำนองเพลงและบทร้องแบบไทยเดิม ประพันธ์บทร้องด้วยฉันทลักษณ์ไทย และ 5)ฉากและอุปกรณ์ประกอบฉาก สร้างสรรค์แบบศิลปะไทยen_US
dc.description.abstractalternativeThis research has the objective to analyse the Thai identity and its role in Thai society in Vijitnattakum terdprakert MAHAJANAKA at the Thai Cultural Center on 11 November 2007 to seek approaches to create contemporary Thai dance that exalt the Thai identity and provide good thoughts towards Thai society. The research data were gathered from documents and interviews and then considered. The research results found that recommended approaches should consist of 1) a play in the Thai language, composed by Thai people, with a story about Thai people’s way of life, customs and traditions, and beliefs in the past up to the present time; 2) dance styles and gestures that reflect classical Thai dance basis and that are inspired by Thai mural paintings conveying symbolic meaning the way classical Thai dance does; 3) traditional Thai costumes or use of Thai fabric in the making and use of traditional Thai accessories; 4) classical Thai tunes and lyrics, composed according to Thai prosody; and 5) sets and props created according to Thai art.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1557-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectนาฏศิลป์ไทยen_US
dc.subjectพระมหาชนกen_US
dc.subjectDramatic arts, Thaien_US
dc.titleเอกลักษณ์ไทยในการแสดงวิจิตรนาฏกรรมเทิดพระเกียรติพระมหาชนกen_US
dc.title.alternativeThai identity in Vijitnattakum Terdprakert Mahajanakaen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนาฏยศิลป์ไทยen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorVijjuta.V@Chula.ac.th-
dc.email.advisorNo information province-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1557-
Appears in Collections:Fine Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
aksarawadee_sa.pdf5.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.