Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/39889
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พัชนี เชยจรรยา | - |
dc.contributor.author | วัชรียา เจริญชูเกียรติกิจ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2014-02-28T08:33:30Z | - |
dc.date.available | 2014-02-28T08:33:30Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/39889 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลับ, 2553 | en_US |
dc.description.abstract | ศึกษากระบวนการสื่อสารเพื่อป้องกันการฆ่าตัวตายของผู้ให้การปรึกษาผู้พยายามฆ่าตัวตาย และผู้มีภาวะซึมเศร้าและเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย รวมทั้งการสื่อสารระหว่างผู้พยายามฆ่าตัวตายและผู้มีภาวะซึมเศร้าและเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายกับบุคคลใกล้ชิด และการรับรู้สัญญาณเตือนก่อนการฆ่าตัวตาย โดยการใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ดำเนินการเก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึกกับพยาบาลจิตเวชหรือผู้ให้การปรึกษา พยาบาลเวชปฏิบัติและเจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสุขภาพชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ผู้พยายามฆ่าตัวตายไม่สำเร็จ บุคคลใกล้ชิดผู้พยายามฆ่าตัวตายไม่สำเร็จ ผู้มีภาวะซึมเศร้าและเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย และบุคคลใกล้ชิดผู้มีภาวะซึมเศร้าและเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย รวมทั้งการรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร และการสังเกตการณ์ ผลการวิจัยพบว่า การสื่อสารเพื่อป้องกันการฆ่าตัวตายมีการถ่ายทอดและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารจากพยาบาลจิตเวชหรือผู้ให้การปรึกษา โดยทำการสื่อสารไปยังผู้ที่มีแนวโน้มในการฆ่าตัวตายในลักษณะบนลงล่าง ซึ่งมีการใช้รูปแบบในการสื่อสารเพื่อป้องกันการฆ่าตัวตาย 3 ลักษณะ คือ การให้การปรึกษาในลักษณะการสนทนาพูดคุย การประชุมและการอบรม และการใช้สื่อในการประชาสัมพันธ์ พยาบาลเวชปฏิบัติและเจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสุขภาพชุมชนมีหน้าที่ให้บริการตรวจรักษาเบื้องต้นเท่านั้น ไม่ได้มีบทบาทโดยตรงในการสื่อสารเพื่อให้การปรึกษา และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) มีการติดต่อสื่อสารกับผู้มีแนวโน้มในการฆ่าตัวตายในลักษณะการสนทนาพูดคุย และมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับคนในชุมชน เนื่องจากเป็นสมาชิกในชุมชนเช่นกัน นอกจากนี้ยังพบว่า ผู้พยายามฆ่าตัวตายได้มีการใช้รูปแบบการติดต่อสื่อสารสองทางที่ไม่เป็นทางการ ในลักษณะการสนทนาพูดคุยกับญาติหรือบุคคลใกล้ชิดผู้พยายามฆ่าตัวตาย เช่นเดียวกับผู้มีภาวะซึมเศร้าและเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายที่มีการสื่อสารระหว่างบุคคลกับบุคคลใกล้ชิด โดยใช้รูปแบบการติดต่อสื่อสารสองทางที่ไม่เป็นทางการในลักษณะการสนทนาพูดคุย รวมทั้งการสื่อสารสัญญาณเตือนก่อนการฆ่าตัวตายที่ผู้พยายามฆ่าตัวตายได้กระทำ ก่อนที่จะตัดสินใจฆ่าตัวตายสามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ลักษณะ คือ วัจนภาษาทางตรง วัจนภาษาทางอ้อม อวัจนภาษาทางตรง และอวัจนภาษาทางอ้อม | en_US |
dc.description.abstractalternative | To investigate the communication to prevent suicide of the mentors who provide advice to those who want to commit suicide and those who have depression disorders. Another aim was to find out how people who try to commit suicide and who have depression disorders communicate to the people closed to them, and the warning sign of suicide. This research applied qualitative methodologies including documentary research, participant observation and in-depth interview with nurse practitioner, official of Village Health Volunteer, the people who failed to commit suicide, the person closed to people who failed to commit suicide and the people who have depression disorders and have tendency to commit suicide. The result of the study showed that way of communication to prevent suicide has been communicated and inform from psychiatric nurses or mentors to people who risk suicide as downward communication. It was found that there are three different ways of communication, which are by direct talk, by meeting and training and by using public relation media. Psychiatric nurses and official of Village Health Volunteer can provide only first aid, they don’t have direct role in the communication. Official of Village Health Volunteer communicate with the suicides by a direct talk and have close relationship because they live in the same community. The results revealed that the suicides have two informal ways of communication by talking to their relatives and people closed to them, as well as the people who have depression disorders. The warning sign of suicide was divided into four ways which are direct verbal, indirect verbal, direct nonverbal and indirect nonverbal. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.298 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การสื่อสาร | en_US |
dc.subject | การสื่อสารระหว่างบุคคล | en_US |
dc.subject | การสื่อสาร -- แง่จิตวิทยา | en_US |
dc.subject | การให้คำปรึกษา | en_US |
dc.subject | การฆ่าตัวตาย | en_US |
dc.subject | พฤติกรรมฆ่าตัวตาย | en_US |
dc.subject | Communication | en_US |
dc.subject | Interpersonal communication | en_US |
dc.subject | Communication -- Psychology aspects | en_US |
dc.subject | Counseling | en_US |
dc.subject | Suicide | en_US |
dc.subject | Suicidal behavior | en_US |
dc.title | การสื่อสารกับกลุ่มผู้มีแนวโน้มในการฆ่าตัวตาย | en_US |
dc.title.alternative | Communicating with suicide-prone group | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | นิเทศศาสตรพัฒนาการ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Patchanee.C@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2010.298 | - |
Appears in Collections: | Comm - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Watchareeya_ja.pdf | 13.88 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.