Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44008
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorNithima Purepong-
dc.contributor.advisorPrawit Janwantanakul-
dc.contributor.advisorPremtip Thaveeratithum-
dc.contributor.authorSirinant Channak-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Allied Health Sciences-
dc.date.accessioned2015-06-24T08:50:11Z-
dc.date.available2015-06-24T08:50:11Z-
dc.date.issued2012-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44008-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2012en_US
dc.description.abstractThe aim of this study was to investigate the effects of acupressure backrest and to compare those effects between the randomized and preferred groups among office workers with chronic low back pain. Ninety-six participants were randomly assigned to either no intervention (n=32), backrest with acupressure point (n=32) or backrest without acupressure point groups. The participants (n=37) who wished to try the backrest were recruited to the preference group. The study outcomes were pain, disability, psychological aspect, quality of life, spinal mobility and physical performance at baseline, 2, 4 weeks, 1, 2, 3 months. For between groups analysis, the results indicated that backrest with and without acupressure point groups showed a significantly difference in pain, disability, spinal mobility, physical performance and well-being compared to the control group (P<0.05). Comparing between the backrest with and without acupressure point groups, there was no significant differences between them in the majority of outcomes. For within subject effect, the backrest with and without acupressure point groups showed significant improvement in pain, functional disability, quality of life, spinal mobility and physical performance at most of the points measured (P<0.05). While a reduction of participants taking medication was presented in the acupressure backrest group only during the follow-up period. No significant difference found between the allocated and preferred backrest groups for pain and disability. These findings suggested that the acupressure backrest could improve low back pain conditions and reduce the medicine usage. Preference was not a powerful moderator to the significant treatment effect.en_US
dc.description.abstractalternativeงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพของหมอนพิงหลังที่มีปุ่มกดตามจุดฝังเข็มและเปรียบเทียบประสิทธิภาพหมอนพิงหลังที่มีปุ่มกดตามจุดฝังเข็มระหว่างกลุ่มสุ่มกับกลุ่มเลือกใช้หมอนในพนักงานสำนักงานที่มีอาการปวดหลังส่วนล่างเรื้อรัง ผู้เข้าร่วมการทดลอง 96 คนสุ่มแบ่ง 3 กลุ่มเท่าๆกันคือ กลุ่มควบคุม, กลุ่มหมอนที่มีและไม่มีปุ่มกดจุด ทดลองใช้ 1 เดือน และผู้ที่ต้องการใช้หมอนที่มีปุ่มกดจุดจะอยู่ในกลุ่มเลือกใช้หมอน (n=37) เครื่องมือวัดผลของกลุ่มสุ่มคือ ระดับความเจ็บปวด, ภาวะทุพพลภาพ, ภาวะด้านจิตใจ, คุณภาพชีวิต, การเคลื่อนไหวของกระดูกสันหลังและสมรรถภาพทางกาย วัดผลก่อนการรักษา, 2, 4 สัปดาห์, 1, 2, และ 3 เดือนกลุ่มเลือกใช้หมอนวัดผลในด้าน ระดับความเจ็บปวด, ภาวะทุพพลภาพ, ระดับความสบาย และ ความพึงพอใจ จากผลการศึกษาพบว่า เมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มพบว่า กลุ่มหมอนพิงหลังที่มีและไม่มีปุ่มกดจุดมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุมในด้านระดับความเจ็บปวด, ภาวะทุพพลภาพ, คุณภาพชีวิต, การเคลื่อนไหวของกระดูกสันหลังและสมรรถภาพทางกาย (P<0.05) และระหว่างกลุ่มหมอนพิงหลังที่มีและไม่มีปุ่มกดจุดพบว่าไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อเปรียบเทียบภายในกลุ่มพบว่า กลุ่มหมอนพิงหลังที่มีและไม่มีปุ่มกดจุดมีระดับความเจ็บปวด, ภาวะทุพพลภาพ, คุณภาพชีวิต, การเคลื่อนไหวของกระดูกสันหลังและสมรรถภาพทางกายดีขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05). นอกจากนี้เป็นที่น่าสนใจว่ากลุ่มหมอนพิงหลังที่มีปุ่มกดจุดเท่านั้นที่สามารถลดระดับการใช้ยาในช่วงการติดตามผลในระยะสามเดือน เมื่อเปรียบเทียบความชอบของการใช้หมอนพบว่ากลุ่มที่เลือกการใช้หมอนไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับกลุ่มสุ่มหมอน กล่าวสรุปได้ว่าหมอนพิงหลังที่มีปุ่มกดตามจุดฝังเข็มช่วยให้อาการปวดหลังดีขึ้นรวมถึงมีปริมาณการใช้ยาที่ลดลง และความชอบในการใช้หมอนพิงหลังที่มีปุ่มกดไม่มีอิทธิพลต่อตัวชี้วัดในการศึกษานี้en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.621-
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectPillowsen_US
dc.subjectBackacheen_US
dc.subjectSpineen_US
dc.subjectหมอนen_US
dc.subjectปวดหลังen_US
dc.subjectกระดูกสันหลังen_US
dc.titleA randomized controlled trial of acupressure backrest in chronic low back pain: a study in office workersen_US
dc.title.alternativeการศึกษาแบบสุ่มและมีการควบคุมในการใช้หมอนพิงหลังที่มีปุ่มกดตามจุดฝังเข็มในพนักงานสำนักงานที่มีอาการปวดหลังส่วนล่างเรื้อรังen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplinePhysical Therapyen_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorNo information provided-
dc.email.advisorprawit.j@chula.ac.th-
dc.email.advisorNo information provided-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.621-
Appears in Collections:All - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sirinant_ch.pdf2.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.