Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45641
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนราพงษ์ จรัสศรีen_US
dc.contributor.authorรักษ์สินี อัครศวะเมฆen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-09-17T04:03:59Z
dc.date.available2015-09-17T04:03:59Z
dc.date.issued2557en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45641
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศป.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์เรื่อง “นาฏยศิลป์สร้างสรรค์สำหรับการแข่งขันยิมนาสติกลีลาในระดับนานาชาติ” มีวัตถุประสงค์ เป็นการวิจัยเชิงสร้างสรรค์ โดยมีวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจาก 1) เอกสาร 2) การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ 3) สื่อสารสนเทศอื่นๆ 4) การสำรวจข้อมูลภาคสนาม 5) เกณฑ์มาตรฐานการยกย่องศิลปิน โดยมีกรอบของแนวคิดที่ยึดถือตามกฏกติกาสหพันธ์กีฬายิมนาสติกนานาชาติ (F.I.G- Federation International Gymnastics) กำหนด ตลอดจนการนำข้อมูลมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปผล ซึ่งข้อมูลทั้งหมดได้เก็บและรวบรวมในช่วงเดือน มกราคม พ.ศ.2556 - ธันวาคม พ.ศ.2557 ทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ รูปแบบการแสดงกับแนวคิดข้อมูลทั้งหมดนี้ ได้ผ่านกระบวนการวิเคราะห์ เพื่อหาคำตอบในคำถามงานวิจัยเชิงสร้างสรรค์คร้ังนี้ คือ ผลงานนาฏยศิลป์สร้างสรรค์สำหรับการแข่งขันยิมนาสติกลีลาในระดับนานาชาติ โดยอาศัยองค์ประกอบทั้ง 5 ประการ ได้แก่ การออกแบบลีลา จาก แนวคิดพื้นฐานการการเคลื่อนไหวร่างกายทั้ง 7 ประเภทในนาฏยศิลป์ คือ 1.การเคลื่อนไหวร่างกายในลักษณะการโค้ง การงอ การย่อ เป็นต้น 2.การเคลื่อนไหวร่างกายในลักษณะการเขย่ง การทำให้สูงขึ้น เป็นต้น 3.การเคลื่อนไหวร่างกายในลักษณะการเลื่อนจากที่หนึ่งไปสู่อีกที่หนึ่ง เป็นต้น 4.การเคลื่อนไหวร่างกายในลักษณะการเคลื่อนที่เป็นวงกลม การหมุน เป็นต้น 5.การเคลื่อนไหวร่างกายในลักษณะการกระโดด เป็นต้น 6.การเคลื่อนไหวร่างกายในลักษณะการยืดขยาย การแผ่ออก เป็นต้น 7.การเคลื่อนไหวร่างกายในลักษณะการพุ่ง การเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็ว เป็นต้น โดยการออกแบบลีลาลักษณะการเคลื่อนไหวร่างกายดังกล่าวผ่านแนวคิดสิ่งเร้าทำให้เกิดแรงบันดาลใจในการออกแบบลีลาท่าทางการแสดงกับอุปกรณ์ ได้แก่ สิ่งเร้าทางด้านความคิดเรื่องราวในการแสดงอุปกรณ์บอล สิ่งเร้าทางด้านเสียงในการแสดงอุปกรณ์คฑา สิ่งเร้าทางด้านภาพในการแสดงอุปกรณ์ริบบิ้น และ สิ่งเร้าที่เกิดจากการเคลื่อนไหวในการแสดงอุปกรณ์ห่วง สำหรับนักแสดงผู้วิจัยได้คัดเลือกนักกีฬาทีมชาติไทยมาช่วยในการทดลองครั้งนี้ ทางด้านการออกแบบเครื่องแต่งกาย การออกแบบดนตรี และการออกแบบอุปกรณ์ นั้นเป็นไปตามกฏกติการสหพันธ์กีฬายิมนาสติกนานาชาติกำหนด โดยมีแนวคิดการคำนึงถึงกฎกติกาในการแข่งขันยิมนาสติกลีลา การคำนึงถึงช่วงระยะเวลาในการแสดง การคำนึงถึงแนวคิดท่าทางการเชื่อมท่าเคลื่อนไหวร่างกายทางนาฏยศิลป์ การคำนึงถึงความคิดสร้างสรรค์ในการแสดงนาฏยศิลป์ การคำนึงถึงความหลากหลายของรูปแบบการแสดงนาฏยศิลป์ เพื่อให้ได้ผลงานตรงตามวัตถุประสงค์ในการวิจัยทุกประการen_US
dc.description.abstractalternativeThis thesis on the Dance Creation for Rhythmic Gymnastics in the International Competition Level is the creative research. The instruments used for data collection were 1) Documents, 2) Interview from experts, 3) other information technology medium, 4) field survey, and 5) criteria for artist glorification. The frame of the concept adheres to the rules of Federation International Gymnastics (F.I.G.), including data analysis, synthesis and conclusion. All data, both practical and theoretical, was collected and gathered from January, 2013 to December, 2014. The pattern of the performance and all these concepts were analyzed to find the solutions for the questions of this creative research. The result was the Dance Creation for Rhythmic Gymnastics in the International Competition Level. It was based on 5 elements, such as, choreographing from the concept of 7 basic physical movements in dance, consisting of The Bending Movement, The Rising Movement, The Sliding Movement, The Circular Movement, The Jumping Movement, The Movement of Extension and The Movement of Adhesion. The inspiration of choreographing a body movement is from stimulus ideas for dance composition, ideational stimuli with ball, auditory stimuli with club, visual stimuli with ribbon and kinesthetic stimuli with hoop. Regarding to performers, the researcher selected Thai national athletes to attend this research. Costume design, music creation, and equipment design were based on the rules of Federation International Gymnastics. The concept was to consider the rules of the rhythmic gymnastics competition, duration of performance, linkage of choreographing and dance physical movement, creativity of dance performance, and variety of dance performance pattern in order to gain the result according to all objectives of the research.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2014.1032-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectยิมนาสติกส์
dc.subjectนาฏยประดิษฐ์
dc.subjectนาฏศิลป์
dc.subjectการเคลื่อนไหวของมนุษย์
dc.subjectกลศาสตร์
dc.subjectGymnastics
dc.subjectChoreography
dc.subjectDramatic arts
dc.subjectHuman mechanics
dc.subjectMechanics
dc.titleนาฏยศิลป์สร้างสรรค์สำหรับการแข่งขันยิมนาสติกลีลาในระดับนานาชาติen_US
dc.title.alternativeTHE DANCE CREATION FOR RHYTHMIC GYMNASTICS IN THE INTERNATIONAL COMPETITION LEVELen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineศิลปกรรมศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorNaraphong.C@Chula.ac.th,thaiartmovement@hotmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2014.1032-
Appears in Collections:Fine Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5586814635.pdf11.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.