Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48654
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเอกสิทธิ์ ลิ้มสุวรรณ-
dc.contributor.authorสุภัค คุณวิริยะ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-10T03:02:49Z-
dc.date.available2016-06-10T03:02:49Z-
dc.date.issued2539-
dc.identifier.isbn9746332902-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/48654-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539en_US
dc.description.abstractวิธีการออกแบบชิ้นส่วนโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กโดยอาศัยแบบจำลองด้วยแรงอัดและแรงดึงภายใน ได้พิจารณาทดแทนการกระจายของหน่วยแรงภายในที่เกิดขึ้นในโครงสร้างด้วยชิ้นส่วนของแรงอัดและแรงดึงที่มีขนาดจำกัด ให้เกิดสมดุลได้ด้วยแรงในแนวแกนในทำนองเดียวกันกับพฤติกรรมของแรงในชิ้นส่วนโครงข้อหมุน การออกแบบจะพิจารณามิติทางเรขาคณิต การกระจายของแรงภายในและการจำลองให้สอดคล้องกับพฤติกรรมของแรงภายในที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งแยกส่วนของโครงสร้างในบริเวณที่มีการกระจายอย่างสม่ำเสมอ (B-region) และบริเวณที่มีการกระจายแรงภายในสับสน ขาดความต่อเนื่อง (D-region) การศึกษาในงานวิจัยนี้จะเน้นการกระจายหน่วยแรงภายในตามทฤษฎีอีลาสติก ซึ่งวิเคราะห์โดยวิธีไฟไนท์เอลีเมนต์และแสดงผลเป็นกราฟฟิค ทั้งนี้แบบจำลองที่เสนอจะขึ้นอยู่กับตัวแปรต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น มิติของโครงสร้าง, ลักษณะของแรงกระทำจากภายนอก, ขนาดของจุดรองรับและอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โครงสร้างที่ทำการศึกษาประกอบด้วย คาน คานลึก คานมีช่องเปิด ฐานรากและเสา ผลการศึกษาจะสามารถหาขนาดของแรง (อัด-ดึง) แนวแรง และจุดบรรจบของแรงที่สามารถประเมินขนาดและมิติขององค์อาคารได้ การออกแบบส่วนของแรงอัดจะหาขนาดของแรงที่ยอมให้ตามมาตรฐานการออกแบบ ส่วนของแรงดึงจะสามารถหาปริมาณเหล็กเสริมตามแรงที่เกิดและการทำรายละเอียดเหล็กเสริม จะเน้นการจัดเหล็กตามการกระจายแรงที่เกิดขึ้น การวิจัยนี้ได้เปรียบเทียบการออกแบบชิ้นส่วนโครงสร้างคอนกรีเสริมเหล็กด้วยวิธีการแบบจำลองด้วยแรงอัดและรงดึงกับวิธีการตามมาตรฐานของ ACI-318-95 พบว่าให้ผลเชิงอนุรักษ์กว่าประมาณ 2-20% ซึ่งสามารถใช้ได้ดีในทุกชนิดของโครงสร้างที่ศึกษาen_US
dc.description.abstractalternativeStrut and tie model is a design method for reinforced concrete member considering internal forces to be equilibrium by uniaxial tension and compression in similar manner as that in truss members. The method is concentrated on parametric study of internal stresses conforming with actual structural behavior of in uniformedly distributed member (B-region) and complex stress field (D-region) This research study employ elastic analysis of finite element method to represent stress pattern by graphic method varying structural configuration load patterns, size of supports and any other related parameters. The structural system as study consists of beams, deep beams, beams with opening, pile caps and columns. The results have shown magnitude of forces, stress pattern and hinge location. In design process, compression forces must be checked to conformed with any design standards, tension can be used to determine area of reinforcement so that detailing can be arranged in accordance with the stress concentration The design of structural members has been compared with the current building code ACI-318-95) to be slightly conservative of 2-20%. It is indicated that this method can be used effectively in every studied case.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการศึกษาเพื่อเสนอแนวทางออกแบบชิ้นส่วนโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยอาศัยแบบจำลองด้วยแรงอัดและแรงดึงภายในen_US
dc.title.alternativeA study on design method for reinforced concrete members using strut and tie modelen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorEkasit.L@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Supak_ku_front.pdf1.08 MBAdobe PDFView/Open
Supak_ku_ch1.pdf575.14 kBAdobe PDFView/Open
Supak_ku_ch2.pdf1.46 MBAdobe PDFView/Open
Supak_ku_ch3.pdf1.97 MBAdobe PDFView/Open
Supak_ku_ch4.pdf1.18 MBAdobe PDFView/Open
Supak_ku_ch5.pdf428.82 kBAdobe PDFView/Open
Supak_ku_back.pdf6.79 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.