Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49043
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเทพวาณี หอมสนิท-
dc.contributor.authorสมศักดิ์ เจริญรัมย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2016-06-12T09:39:19Z-
dc.date.available2016-06-12T09:39:19Z-
dc.date.issued2530-
dc.identifier.isbn9745677701-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/49043-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาปัญหาและความต้องการของครูอนามัยโรงเรียนเกี่ยวกับการจัดบริการสุขภาพในโรงเรียนมัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร และเปรียบเทียบปัญหาและความต้องการเกี่ยวกับการจัดบริการสุขภาพระหว่างครูอนามัยโรงเรียนที่มีวุฒิทางพยาบาลกับครูอนามัยโรงเรียนที่ไม่มีวุฒิทางพยาบาล ผู้วิจัยได้สร้างแบบสอบถามขึ้น นำไปเก็บข้อมูลกับประชากรซึ่งเป็นครูอนามัยโรงเรียนจำนวน 122 คน ในโรงเรียนมัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร และได้รับแบบสอบถามกลับคืนมา 110 ฉบับ คิดเห็นร้อยละ 90.01 ผู้วิจัยนำแบบสอบถามมาวิเคราะห์ข้อมูล โดยหาค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่าที (t –test) ที่ระดับความมีนัยสำคัญ .05 ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. ครูอนามัยโรงเรียนมีปัญหาเกี่ยวกับการจัดบริการสุขภาพในโรงเรียนมัธยมศึกษาอยู่ในระดับปากกลางจำนวน 8 ด้าน ด้านบัตรสุขภาพ , ด้านการตรวจสุขภาพ, ด้านการติดตามผลการรักษา, ด้านการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงและทดสอบสายตา , ด้านโภชนาการ, ด้านจัดส่งเสริมสุขภาพจิต, ด้านจัดส่งเสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน, ด้านการจัดดำเนินงานการบริการสุขภาพในโรงเรียน ยกเว้นปัญหาด้านการบริการสร้างภูมิคุ้มกันโรค ป้องกันและควบคุมการติดต่อ, ด้านการปฐมพยาบาลและให้การรักษาเบื้องต้น ด้านการจัดสวัสดิภาพในโรงเรียน อยู่ในระดับน้อย 2. เมื่อเปรียบเทียบปัญหาการจัดบริการสุขภาพระหว่างครูอนามัยโรงเรียนที่มีวุฒิต่างกัน พบว่า 2.1 มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำนวน 7 ด้าน คือ ด้านการตรวจสุขภาพ, ด้านการปฐมพยาบาลและให้การรักษาเบื้องต้น, ด้านการติดตามผลการรักษา, ด้านการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง และทดสอบสายตา , ด้านการจัดส่งเสริมสุขภาพจิต, ด้านจัดส่งเสริมสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน , ด้านจัดดำเนินงานการบริการสุขภาพในโรงเรียน 2.2 ไม่มีความแตกต่างกันระดับความมีนัยสำคัญ .05 จำนวน 4 ด้าน คือ ด้านบัตรสุขภาพ, ด้านโภชนาการ, ด้านการให้ภูมิคุ้มกันโรค ป้องกันและควบคุมโรงติดต่อ, ด้านการจัดสวัสดิภาพในโรงเรียน 3. ครูอนามัยโรงเรียนมีความต้องการเกี่ยวกับการจัดบริการสุขภาพในโรงเรียนส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก 4. เมื่อเปรียบเทียบความต้องการเกี่ยวกับการจัดบริการสุขภาพในโรงเรียนระหว่างครูอนามัยโรงเรียนที่มีวุฒิต่างกัน พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the research were to study problems and needs of school health teachers concerning health service management in secondary schools in Bangkok Metropolis, and to compare problems and needs between the two groups of school health teachers who had educational background in nursing and those who did not have educational background in nursing. Questionnaires were constructed and were sent to the population, 122 secondary school health teachers, in Bangkok Metropolis. One hundred and ten questionnaires, accounted for 90.01 percent, were returned. The data were then analyzed to obtain percentages, arithmetic means and standard deviations. The t-test was also employed to determine the significant differences at .05 level. The findings were : 1. The school health teachers had “moderate” problems concerning health service management in eight areas : follow – up services, the health examination, the weight and height measurement and vision screening, the mental health, the health promotion for school personnel, the health service management, the nutrition and the health record except the areas of immunization, safety, and first – aid were “low.” 2. The comparison of the problems concerning health service management between the school health teachers who had different educational backgrounds found that : 2.1 There were statistically significant differences at the level of .05 in seven areas : follow – up services, the health examination, the first-aid, the weight and height measurement and vision screening, the mental health, the health promotion for school personnel and the health service management. 2.2 There were not statistically significant differences at the level of .05 in four areas : the immunization, the safety, the nutrition and the health record. 3. The school health teachers had “high” needs concerning health service management. 4. The comparison of the needs concerning health service management between the school health teachers who had different educational backgrounds were significantly different at the level of .05.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectครูอนามัยโรงเรียนen_US
dc.subjectอนามัยโรงเรียน -- ไทย -- กรุงเทพฯen_US
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษา -- สุขภาพและอนามัย -- ไทยen_US
dc.titleปัญหาและความต้องการของครูอนามัยโรงเรียน เกี่ยวกับการจัดบริการสุขภาพ ในโรงเรียนมัธยมศึกษากรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeProblems and needs of school health teachers concering health service management in secondary schools, Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineพลศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorTepwanee.H@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somsak_cha_front.pdf7.7 MBAdobe PDFView/Open
Somsak_cha_ch1.pdf4.63 MBAdobe PDFView/Open
Somsak_cha_ch2.pdf7.18 MBAdobe PDFView/Open
Somsak_cha_ch3.pdf3.52 MBAdobe PDFView/Open
Somsak_cha_ch4.pdf3.71 MBAdobe PDFView/Open
Somsak_cha_ch5.pdf2.57 MBAdobe PDFView/Open
Somsak_cha_back.pdf3.76 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.