Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50612
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารยะ ศรีกัลยาณบุตรen_US
dc.contributor.authorพรวิธิต แก้วชูศรีen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2016-12-01T08:10:43Z
dc.date.available2016-12-01T08:10:43Z
dc.date.issued2558en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/50612
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศป.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาแนวทางการออกแบบเรขศิลป์ที่สามารถสื่อสาร และสะท้อนลักษณะของดนตรีร็อคในปัจจุบันที่ได้รับอิทธิพลของดนตรีร็อคในแต่ละยุค ผ่านแนวคิดหลังสมัยใหม่ (Post-Modern) วิธีที่ใช้ในงานวิจัยคือ การศึกษาและรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวกับดนตรีร็อคในยุค 50, 60, 70, 80, 90 และ ปัจจุบัน โดยนำข้อมูลที่ได้มาสร้างเป็นแบบสอบถามสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านดนตรี เพื่อคัดกรองกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยจำนวน 86 จาก 2,001 ปกอัลบั้ม จากนั้นผู้วิจัยได้ทำการวิเคราะห์กลุ่มตัวอย่างในเรื่องของสี ตัวอักษร และการใช้ภาพประกอบโฆษณา โดยนำผลที่วิเคราะห์ได้มาทำการตรวจสอบผลโดยผู้เชี่ยวชาญด้านกราฟฟิคและภาพอีกครั้ง สรุปผลการวิจัยพบว่า เรื่องของการใช้สี ตัวอักษร และภาพประกอบโฆษณาของกลุ่มตัวอย่างปกอัลบั้มดนตรี ร็อคในแต่ละยุค มีผลลัพธ์และภาพรวมที่แตกต่างกัน คือ เรื่องของการใช้สี และภาพประกอบโฆษณา และในส่วนที่มีผลลัพธ์ที่คล้ายคลึงกัน คือ เรื่องการใช้ตัวอักษร ซึ่งผู้วิจัยได้นำผลสรุปดังกล่าวมาใช้เป็นแนวทางในการออกแบบ เรขศิลป์ของวงดนตรีร็อคไทยโดยใช้แนวคิดหลังสมัย โดยพบว่าสามารถนำหลักการของแนวคิดหลังสมัยใหม่มาใช้ในการออกแบบเรขศิลป์ของวงดนตรีร็อคของไทยที่ได้รับอิทธิพลทางดนตรีร็อคในแต่ละยุคได้อย่างแตกต่างกันen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to search for the graphic design guideline to communicate the Thai rock bands that are influenced by rock music in each era by using post-modern concept. The research methodologies are studying and collecting information of rock music in each era, (50s, 60s, 70s, 80s, 90s & Present), the data are used to build research tools that the music specialist uses to identify the research samples; 86 of 2,001 selected albums, the researcher analyzes samples for colors, typography and executions of advertising, the results of the analysis is verified again by graphic and visual specialist. Research summary of the use of colors, typography and execution of advertising, album rock samples in each era, finds that there are different results in colors and executions of advertising, and the same result is typography. Finally, the researcher uses this study as the guideline to design Thai rock bands album by using postmodern concept, and finds that the principles of postmodern can be used in the graphic design of Thai rock bands that are influenced by rock music in a different era.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2015.605-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการออกแบบกราฟิก
dc.subjectโพสต์โมเดิร์นนิสม์
dc.subjectแผ่นเสียง -- ปก
dc.subjectGraphic design
dc.subjectPostmodernism
dc.subjectSound recordings -- Album cover
dc.titleการออกแบบเรขศิลป์สำหรับวงดนตรีร็อคของไทยโดยใช้แนวคิดหลังสมัยใหม่en_US
dc.title.alternativeGraphic design for Thai rock bands by using postmodern concepten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนฤมิตศิลป์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorAraya.S@chula.ac.th,araya.s@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2015.605-
Appears in Collections:Fine Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5786720435.pdf21.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.